19648 : โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิจัยและบริการวิชาการ: การเพาะเลี้ยงสาหร่าย แพลงก์ตอนพืช และสัตว์น้ำเศรษฐกิจเพื่อผลิตอาหารปลอดภัยตามแนวทาง Well- Being @Chumphon (กลุ่มการประมงและทรัพยากรทางทะเล) ประจำปี 2566
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  บุคคลากร นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และบุคคลทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2566 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.3 เป็นต้นแบบการสร้างชุมชนที่ยั่งยืน และแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco Community &Tourism)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.10 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumporn
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.4.3 สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการท่องเที่ยวต้นแบบแห่งชายฝั่งทะเลตะวันออก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 1.3 มีต้นแบบความสำเร็จของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 3 วิทยาเขต Eco Community & Tourism
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumphon
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 6. สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการท่องเที่ยวต้นแบบแห่งชายฝั่งทะเลตะวันออก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีความเป็นเลิศทางด้านการเกษตรในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนและความมีความเชี่ยวชาญในศาสตร์หลายแขนงที่มีงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการ สภาพแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบริบทของภาคใต้ตอนบนอย่างมากมายแล้วพร้อมช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ประสบอยู่ เพื่อผลิตสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าเศรษฐกิจและคุณภาพสูงออกมา ดังนั้น โครงการนี้เห็นควรยกระดับศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิจัยและบริการวิชาการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงให้ดียิ่งขึ้น เพื่อใช้ดำเนินกิจกรรมตั้งแต่เริ่มจัดทำแผนพัฒนาอาชีพในแต่ละตำบล เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางในพัฒนาศักยภาพประชาชนและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ โดยส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใช้ฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชนิดต่างๆ เช่น ปลานวลจันทร์ทะเล, กุ้งขาวแวนนาไม ปูม้า ปูทะเล และหมึก และสาหร่ายขนาดเล็ก/ขนาดใหญ่ ตลอดจนนำองค์ความรู้และนวัตกรรมแล้วนำเทคโนโลยีต่างๆ เช่น การใช้ระบบ recirculating aquaculture system (RAS) และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ในการผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่วนกลางทางเป็นการพัฒนาสารสกัดจากสาหร่าย สมุนไพรและสัตว์น้ำให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าและมูลค่าสูง เพื่อเป็นสินค้า OTOP ในบรรจุภัณฑ์ที่ดีที่ช่วยรักษาคุณภาพ สร้างความน่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค และอำนวยความสะดวกในการจัดวางขนส่งและจัดแสดง ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ตลาดสินค้าออนไลน์ และตลาดใต้เคี่ยมที่อยู่ติดกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ซึ่งจัดอยู่ในช่วงปลายทางไปยังผู้บริโภค ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านอาหาร มีหลักประกันมั่นคงด้านอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมีส่วนผลักดันให้มีเกษตรรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนฐานการผลิตการเกษตรที่เข็มแข็งและยั่งยืน การจัดระบบการผลิตให้สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับการพัฒนาเป็นพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ด้านการท่องเที่ยวของภาคใต้ตอนบนอีกทางหนึ่ง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อผลิตบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ด้านการประมงเข้าสู่ภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง
เพื่อจัดทำแผนการพัฒนาอาชีพตามศักยภาพประชาชนภาคใต้ตอนบนเพื่อประสิทธิภาพในการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เพื่อพัฒนาและบริการวิชาการการผลิตสาหร่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่มูลค่าสูงรองรับอาหารสุขภาพและอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน
เพื่ออบรมถ่ายทอดการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเศรษฐกิจมูลค่าสูง
เพื่อพัฒนาและบริการวิชาการใช้เทคโนโลยี recirculating aquaculture system (RAS) และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ในผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงในเชิงพาณิชย์มุ่งสู่ประมงอินทรีย์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อพัฒนาและบริการวิชาการการผลิตสารสกัดจากสาหร่าย สมุนไพรและสัตว์น้ำที่มีคุณค่าและมูลค่าสูง
เพื่อจัดหาช่องทางกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภค
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการ
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : งบประมาณโครงการบริการวิชาการจากภายนอกที่นำมาบูรณาการร่วม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100000 บาท 100000
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมบนฐานทุนทรัพยากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จุฑามาส  เพ็งโคนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สายทอง  สุจริยาพงศ์พร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศิริมาศ  เจี้ยมกลิ่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ฐิตาภรณ์  ปิโม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางสาวเพชรณี  ศรีมูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุวนันท์  สุวรรณเนาว์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสานิตย์  แป้นเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาและบริการวิชาการ : การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเศรษฐกิจมูลค่าสูงแบบอินทรีย์และการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ทะเล: การส่งเสริมธนาคารปูม้าเพื่อการอนุรักษ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาและบริการวิชาการ : การใช้เทคโนโลยี recirculation aquaculture (RAS) zero waste และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ในการผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงในเชิงพาณิชย์มุ่งสู่ประมงอินทรีย์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม: การเลี้ยงปลาดุกลูกผสมในระบบน้ำหมุนเวียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาและบริการวิชาการการผลิตสาหร่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่มูลค่าสูงรองรับอาหารสุขภาพและอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน: นวัตกรรมการผลิตอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อนในระบบปิดเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาและบริการวิชาการ: การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่คำนึงถึงต้นทุนและผลตอบแทนที่มีความเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์และการจำหน่ายในช่องทางการตลาด: การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงกุ้งทะเลที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ขนิษฐา  พัฒนสิงห์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 6 การพัฒนาและบริการวิชาการ: การผลิตสารสกัดจากสาหร่าย สมุนไพร และสัตว์น้ำด้วยเทคโนโลยีพื้นบ้านหรือเทคโนโลยีชั้นสูงเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าและมูลค่าสูง: การใช้สารสกัดจากสมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อใช้ประโยชน์ทางการเกษตรแบบบูรณาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล