19640 : โครงการฐานเรียนรู้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลทางการเกษตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/1/2566 14:39:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ผู้ประกอบการ นักเรียน นักศึกษา เจ้าหน้าที่ราชการ และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ธิดารัตน์  แก้วคำ
อาจารย์ ดร. ดวงใจ  น้อยวัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปวาลี ชมภูรัตน์  ธฤติธนเกียรติ์
อาจารย์ ดร. แพรวพรรณ  จอมงาม
นาย ทองลา  ภูคำวงศ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.19 EN66 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสาขาวิชาที่จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โดยเน้นการศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของผลิตผลทางการเกษตร ได้แก่ ผัก ผลไม้ ดอกไม้ รวมถึงเมล็ดพืชและเมล็ดพันธุ์ ทั้งในส่วนของทฤษฎีหรือหลักการต่างๆ แล้วนำมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติงาน เริ่มตั้งแต่การเก็บเกี่ยว การคัดเลือกคุณภาพ การจัดชั้นมาตรฐาน การปฏิบัติเฉพาะอย่าง รวมถึงวิธีการเก็บรักษาแบบต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และเหมาะสำหรับการวางจำหน่ายทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ นอกเหนือจากการเรียการสอนแล้ว องค์ความรู้ดังกล่าวยังสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับเกษตรกร สถานประกอบการ หรือผู้ที่สนใจ เพื่อให้ได้รับรู้ถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สำคัญเกี่ยวกับกระบวนการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะส่วนกลางน้ำ และปลายน้ำเป็นอย่างดี การจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้หลักสูตรฯ สามารถใช้ศักยภาพต่างๆ ที่มีอยู่ทั้งบุคลากร นักศึกษา รวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเผยแพร่องค์ความรู้และผลงานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลเกษตรให้แก่เกษตรกร สถานประกอบการ สถาบันการศึกษา หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้ที่สนใจ เพื่อจะได้นำมาใช้เป็นแนวทางลดการสูญเสียหรือสามารถรักษาคุณภาพของผลิตผลให้มีคุณภาพดี ตรงกับความต้องการของตลาดหรือผู้บริโภค ซึ่งในปัจจุบันได้ให้ความสำคัญกับคุณภาพของสินค้าอย่างมากยิ่งขึ้น นอกจานี้ยังเป็นการสนับสนุนวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในหัวข้อการเป็นเลิศในด้านวิชาการ (ด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) ที่สำคัญ คือ เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการ คณาจารย์ นักวิจัย นักศึกษา และนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง สำหรับแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาการสูญเสียผลิตผลเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว รวมถึงแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนับสนุนภารกิจของสาขาวิชาฯ ทั้งด้านการเรียนการสอน และการบริการวิชาการโดยเฉพาะการนำเอาองค์ความรู้ ผลงานวิจัย รวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่มาเผยแพร่ให้แก่สังคม
เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร สถานประกอบการ สถาบันการศึกษา รวมถึงหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง และผู้ที่สนใจ ได้มีโอกาสรับรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ
เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่คณาจารย์ของสาขาวิชาฯ โดยเฉพาะการรับรู้ปัญหาที่เกิดจากการปฏิบัติงานจริงของเกษตรกรหรือสถานประกอบการ แล้วนำมาศึกษาวิจัยเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
เป็นการเพิ่มพูนองค์ความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงแก่นักศึกษาของสาขาวิชาฯ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ทางด้านการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวของผลิตผลเกษตร
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละของการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 5 : ฐานเรียนรู้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลทางการเกษตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 8 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ทางด้านการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวของผลิตผลเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
1: การยกระดับคุณภาพของเมล็ดพันธุ์และเมล็ดพืช
2 : เทคนิคการคัดบรรจุ การเก็บรักษาสำหรับผลิตผลสดหลังการเก็บเกี่ยวอย่างมีคุณภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  แก้วคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 1,200 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 200 บาท 14 วัน เป็นเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 18,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น เมล็ดพันธุ์ เมล็ดพืช สารป้องกันโรคและแมลง สารเคลือบผิว ฯลฯ เป็นเงิน 4,800 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ผ้ากันเปื้อน มีด เขียง ตระกร้า กะละมัง ผัก ผลไม้ ฯลฯ เป็นเงิน 14,000 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารเคมี สารเคลือบเมล็ดพันธุ์ กระดาษเพาะเมล็ดพันธุ์ ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 21,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 21,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล