19507 : โครงการส่งเสริมศักยภาพการพัฒนานักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์สานฝันสู่การเป็นผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/07/2566  ถึง  26/07/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  68  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ ชั้นปีที่ 2 -4 จำนวน 61 คน อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ จำนวน 5 ท่าน และวิทยากร 2 ท่าน รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น จำนวน 68 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินสะสมเพื่อสนับสนุนวิชาการและพัฒนานักศึกษา ประจำปี 2566 แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) 2566 16,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร. นัยนา  โปธาวงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.4 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69ECON4-1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69ECON4-1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 4-1.1.2 จัดหลักสูตรฝึกอบรม/โครงการเพื่อพัฒนานักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด 65-69ECON4-1.6 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 4-1.7.2 จัดหลักสูตรฝึกอบรม/โครงการเพื่อพัฒนานักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กำหนดนโยบายการพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่การเป็นผู้ประกอบการใหม่และธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เนื่องจากปัจจุบันมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาประเทศไทยทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญในการสร้างความสำเร็จด้านการประกอบการ การลงทุนธุรกิจใหม่ ๆ ในยุคดิจิทัล มีการพัฒนาสร้างเครื่องมือทางการแข่งขันที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จของธุรกิจในยุดสมัยใหม่ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมายังคงระบาดอยู่ในแทบทุกพื้นที่ในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันทำให้เกิดการเติบโตในภาคธุรกิจดิจิทัลอย่างก้าวกระโดด มีการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีเข้ามาใช้กับงานแทบจะทุกภาคส่วนของธุรกิจ ทั้งการประชุมผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ การเรียนออนไลน์ การสั่งสินค้าผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ แทนการเดินเข้าห้าง เพื่อลดการติดต่อโดยตรงระหว่าง การจัดโครงการครั้งนี้สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ เล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาทักษะของนักศึกษา และเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับการพัฒนานักศึกษาทักษะในศตวรรษที่ 21 และ PLO (Program Learning Outcome)ของสาขาวิชาฯ มีจุดหมุ่งหมายเพื่อให้นักศึกษาเมื่อสำเร็จการศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดธุรกิจสมัยใหม่ ผสมผสานต่อยอดไอเดียของตนเองสู่การเป็นผู้ประกอบการที่มีศักยภาพและประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดโครงการครั้งนี้ได้เชิญวิทยากร จำนวน 2 ท่าน ได้แก่ คุณพัชญ์ธน ทวีโชติธนพัชร์ ประธานกรรมการบริหารบริษัท เอ็ม ดี ดี กรุ๊ป จำกัด และ ว่าที่ร้อยตรีชิตพล แท่นทอง ประธานกรรมการบริหารบริษัท ตามมาคอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นวิทยากรให้ความรู้ในการพัฒนาทักษะ การคิดเชิงสร้างสรรค์ด้วยการต่อยอดด้วยไอเดียเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน/กลุ่มอาชีพ/วิสาหกิจชุมชน นำมาสู่การสร้างรายได้ในเชิงพาณิชย์ รวมไปถึงการสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ตลอดจนเป็นการเพิ่มช่องทางอาชีพให้กับนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของเยาวชนรุ่นใหม่ในยุคดิจิทัล

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อให้นักศึกษาทราบและเข้าใจแนวทางการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจยุคดิจิทัล
2 เพื่อให้นักศึกษาเกิดไอเดียสานฝันเป็นเจ้าของธุรกิจยุคดิจิทัลและสามารถพัฒนาต่อยอดธุรกิจได้
3 เพื่อพัฒนานักศึกษาทักษะในศตวรรษที่ 21และเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาเป็นผู้ประกอบการธุรกิจยุคดิจิทัลของตนเองเมื่อสำเร็จการศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาทราบและเข้าใจแนวทางการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจยุคดิจิทัล
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (ุ61 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ระดับความรู้ความเข้าในเกี่ยวกับส่งเสริมศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาทราบและเข้าใจแนวทางการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจยุคดิจิทัล
ชื่อกิจกรรม :
เสวนาแนวทางการส่งเสริมศักยภาพการพัฒนานักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์สานฝันสู่การเป็นผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/07/2566 - 26/07/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา  โปธาวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.อารีย์  เชื้อเมืองพาน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.รนกร  สุภจินต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 68 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 3,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,400.00 บาท 3,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่าง จำนวน 68 คน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,400.00 บาท 3,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรจากภายนอก จำนวน 2 คน คนละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล