19467 : โครงการม้าไทยเพื่อพัฒนาเยาวชนและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจังหวัดแพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/1/2566 13:30:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  390  คน
รายละเอียด  เยาวชนจังหวัดแพร่ นักเรียน ประชาชน ทั่วไปโดยเป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมการใช้ม้าเพื่อพัฒนาเยาวชนและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจังหวัดแพร่ จำนวน 30 คน และ ผู้เข้าเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้จำนวน 300 คน นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯที่เป็นผู้นำการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการปรับสมาธิและพัฒนาบุคลิกภาพและนันทนาการการท่องเที่ยว จำนวน 60 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2566 50,000.00
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สมศักดิ์  กันถาด
นาย ภาสกร  อัมพรสวัสดิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิชิตร์  วรรณคำ
นาย ถวิล  ยานะวิน
นาง ศิรภัสสร  กันถาด
นาง อัญชลี  ปินตาวงค์
นาง เหมสุดา  แก้วกอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.7 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
กลยุทธ์ 66-3.1.7.1.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยในสภาวะปัจจุบันเยาวชนไทยโดยเฉพาะในจังหวัดแพร่ มักพบว่ามีลักษณะที่ขาดสมาธิในการรับรู้และการเรียนรู้จำนวนมากขึ้น โดยที่เรียกว่ากลุ่มพิเศษที่มีสมาธิสั้นหรือที่เรียกว่ากลุ่มเด็ก LD ในอัตราส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของนักเรียนปกติ ทำให้เยาวชนไม่สามารถเรียนรู้ได้ทันกลุ่มเพื่อนรุ่นเดียวกัน มีผลการเรียนอยู่ในระดับรั้งท้าย เพราะขาดสมาธิในการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องในโครงการทั้งในประเทศและต่างประเทศที่นำเอาม้ามาช่วยบำบัดเด็กกลุ่มดังกล่าวให้มีสมาธิมากยิ่งขึ้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยทางการเกษตรมีบุคลากรและนักศึกษาที่มีความรู้และความชำนาญในการเลี้ยงม้า การฝึกม้าเพื่อการใช้งานและมีประสบการณ์ในการนำมาช่วยพัฒนาเยาวชน และส่งเสริมการท่องเที่ยว ดังผลการแข่งขัน อาชาช่วยน้องสมาธิสั้นที่มีผลคะแนนเป็นอันดับที่ 2 ขวัญใจไทยพาณิชย์โครงการกล้าใหม่ใฝ่รู้ระดับอุดมศึกษา ระดับประเทศ รางวัลขี่ม้าแข่งมาราธอนอันดับที่ 3 ภาคเหนือ ระยะทาง 40 กิโลเมตรและยังได้มีโอกาสจัดทำโครงการพัฒนาเยาวชนอาชาช่วยน้องสมาธิสั้นอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลากว่า 5 ปี บัดนี้มหาวิทยาลัยมีความพร้อมที่จะทำให้การจัดกิจกรรมทางด้านม้า มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นสามารถที่จะเป็นแหล่งรองรับเยาวชนและประชาชนได้ ในเชิงธุรกิจหากแต่ยังขาดงบประมาณดำเนินการให้มีมาตรฐานและความสง่างาม จึงมีความประสงค์ที่จะจัดโครงการนี้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อจัดตั้งเป็นฐานพัฒนาม้าไทยเพื่อบริการวิชการให้ความรู้ พัฒนาทักษะ สมาธิและบุคลิกภาพแก่เยาวชน
2 เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและกีฬาโดยใช้ม้าเป็นสื่อพาหนะในการท่องเที่ยว
3 เพื่อเป็นสถานที่เรียนรู้และฝึกพัฒนานักศึกษา ให้มีความสามารถในเรื่องการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์ม้าในเชิงธุรกิจ ในการบริการสังคมที่มีลักษณะตรงตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : - ฐานเรียนรู้ม้าไทย - ผู้เข้าร่วมได้ความรู้เรื่องม้าและทักษะการขี่ม้าอย่างปลอดภัย และการขี่ม้าในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ / หน่วยงาน / องค์กร ที่ได้รับการบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯที่เป็นผู้นำการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการปรับสมาธิและพัฒนาบุคลิกภาพ และนันทนาการการท่องเที่ยว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการใช้ม้าเพื่อพัฒนาเยาวชนและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจังหวัดแพร่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 7 : จำนวนฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
300 คน 300
KPI 9 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : - ฐานเรียนรู้ม้าไทย - ผู้เข้าร่วมได้ความรู้เรื่องม้าและทักษะการขี่ม้าอย่างปลอดภัย และการขี่ม้าในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การจัดทำฐานเรียนรู้ม้าไทยเพื่อเยาวชนและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจ.แพร่
กิจกรรมที่ 2 อบรมและให้ความรู้นักศึกษาเรื่องการเป็นผู้ช่วยวิทยากรเรื่องใช้ม้าเพื่อพัฒนาเยาวชนและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจ.แพร่
กิจกรรมที่ 3 อบรม“อาชาช่วยน้องสมาธิสั้น” เพื่อพัฒนาสมาธิ บุคลิกภาพ ความพร้อมในการเรียนรู้ตามวิถีเกษตรพอเพียงแบบยั่งยืนแก่เยาวชนที่สมาธิสั้น
กิจกรรมที่ 4 การให้ความรู้และทักษะการขี่ม้าอย่างปลอดภัยแก่เยาวชน ประชาชนที่เข้ามาศึกษาดูงานฐานการเรียนรู้(กิจกรรมตลอดทั้งปีงบประมาณ)
กิจกรรมที่ 5 การให้ความรู้เรื่องการขี่ม้าในเส้นทางศึกษาธรรมชาติตามวิถีเกษตรพอเพียงเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายถวิล  ยานะวิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางศิรภัสสร  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอัญชลี  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางเหมสุดา  แก้วกอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 4,900 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 8,400 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล/โปสเตอร์ ขนาด 1.20 เมตร x 2.40 เมตร จำนวน 2 ผืน ๆ ละ 520 บาท เป็นเงิน 1,040 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,340.00 บาท 0.00 บาท 14,340.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น อาหารสัตว์ เชือก สายยาง สายผ้า ฯลฯ. เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เช่น ปลั๊กไฟ สายไฟฟ้า ปลั๊กไฟฟ้า สวิตช์ไฟฟ้า ฯลฯ เป็นเงิน 6,810 บาท
3. ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น ทราย ปูนซีเมนต์ อิฐหรือซีเมนตบล์อก ตะปู สี น้ำมันทาไม้ ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
4. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น กระติกน้ำแข็ง ถาดพลาสติก มีดฯลฯ เป็นเงิน 1,650 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 28,460.00 บาท 0.00 บาท 28,460.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 อนุมัติ (สมสักดิ์ ภันถาด).pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล