19403 : โครงการเศรษฐศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ปี 2566
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา พันธุ์มณี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/09/2566  ถึง  02/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  62  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ชั้นปีที่ 2 จำนวน 60 คน และอาจารย์และเจ้าหน้าที่ จำนวน 2 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้ (เงินเหลือจ่าย) แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) 2566 13,500.00
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินสะสมเพื่อสนับสนุนวิชาการและพัฒนานักศึกษา ประจำปี 2566 แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) 2566 800.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิตา  พันธุ์มณี
อาจารย์ ดร. เกวลิน  สมบูรณ์
รองศาสตราจารย์ ดร. นิศาชล  ลีรัตนากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี  สิงหะวาระ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.24 จำนวนกิจกรรมด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่หน่วยงานภายนอก
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69ECON1-1 เป็นองค์กรที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน ทั้งด้านกายภาพ โครงสร้างพื้นฐาน การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และนวัตกรรม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 65-69ECON1-1.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ BCG และ SDG
กลยุทธ์ 65-69ECON 1-1.2.2 ส่งเสริมการจัดโครงการพัฒนานักศึกษาให้มีกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ BCG และ SDG
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.7 จำนวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาที่เชื่อมโยงกับ BCG และ SDG
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.7.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่เชื่อมโยงกับ BCG และ SDG
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-5 เป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-5.2 ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่เป็นโครงการ/กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-5.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิ่งแวดล้อมกับกิจกรรมนักศึกษา
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-5.3 ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่เป็นโครงการ/กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่นของคณะ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-5.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิ่งแวดล้อมกับกิจกรรมนักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ศิลปวัฒนธรรมเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงภูมิปัญญาและวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทย เป็นสิ่งที่แสดงถึงความเป็นตัวตนของมนุษยชาติ และเป็นเครื่องสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่แฝงไว้ด้วยสุนทรียภาพของมนุษย์ ดังนั้น งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของของชาติและท้องถิ่นจึงถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของคนไทยทุกคนที่จะต้องอนุรักษ์ และหวงแหนสิ่งที่ดีงามที่บรรพบุรุษได้สร้างและถ่ายทอดสืบต่อกันมา สถาบันการศึกษาจึงต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้อง และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมไทย การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ผ่านการจัดการเรียนการสอนที่ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา ในการนี้ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมให้เยาวชน นักศึกษาและบุคลากร รวมถึงชุมชน ได้ร่วมกันอนุรักษ์ สืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น รวมถึงต่อยอดและสร้างสรรค์ผลงานที่สะท้อนคุณค่าเหล่านั้นได้ จึงได้จัดทำ "โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์" ขึ้น ในวันที่ 2 กันยายน 2566 ณ พื้นที่ประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ หอศิลปวัฒนธรรมเชียงใหม่ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ และพิพิธภัณฑ์ธนารักษ์ จังหวัดเชียงใหม่ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ โดยมีกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ฐานกิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) ฐานรถรางชมเมืองนิเวศประวัติศาสตร์ 2) ฐาน Workshop ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 3) ฐานเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ธนารักษ์ จังหวัดเชียงใหม่

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเห็นคุณค่าของการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้เรียนรู้และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมจากการเข้าร่วมโครงการเศรษฐศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ปี 2566
KPI 1 : ทัศนคติของนักศึกษาที่ได้เข้าร่วมโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ (ุ60 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้เรียนรู้และเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมจากการเข้าร่วมโครงการเศรษฐศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ปี 2566
ชื่อกิจกรรม :
ฐานเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/09/2566 - 02/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา  พันธุ์มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถสองแถว สำหรับเดินทางไป-กลับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - อ.เมืองเชียงใหม่ (1,000 บาท x 5 คัน x 1 วัน) เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดกิจกรรมฐานเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นเงิน 6,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (60 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีมาตรการและแจ้งเตือนให้นักศึกษาสวมหน้ากากอนามัย และรักษาระยะห่างตลอดเวลาที่เข้าร่วมโครงการ รวมถึงได้จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ไว้สำหรับทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล