19344 : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตผักอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  เกษตร ประชาชนผู้สนใจ ในตำบลร้องกวาง ตำบลไผ่โทน ตำบลบ้านเวียง ตำบลน้ำเลา และตำบลแม่ทราย จังหวัดแพร่ โดยเป็นผู้เยี่ยมชมฐาน จำนวน 30 คน และผู้เข้าอบรม 40 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย กิติพงษ์  วุฒิญาณ
นาย สิทิไวกูล  ทิราวงศ์
นาง ธนันธรณ์  วุฒิญาณ
น.ส. ถิรนันท์  กิติคู้
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้
กลยุทธ์ 66-3.1.3.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครอบคลุมห่วงโซ่คุณค่าให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำคัญกับเกษตรอินทรีย์มากขึ้น เนื่องจากผู้บริโภคได้ตระหนักถึงความมั่นคงของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งของตนเองและส่วนรวม โดยเริ่มจากการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีคุณภาพตามมาตรฐานตามข้อกำหนดมาตรฐานและกฎระเบียบด้านอาหารปลอดภัยเพื่อปกป้องชีวิตและสุขภาพ ในขณะเดียวกันได้มีเกษตรกรจำนวนหนึ่งที่ได้ตระหนักถึงคุณภาพชีวิตทั้งของตนเองและส่วนรวม โดยปรับเปลี่ยนการทำการเกษตรที่มีการรักษาสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ การส่งเสริมการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย จะเป็นการพัฒนาเกษตรกรให้สามารถผลิตด้านการเกษตรแบบปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลิต และเพิ่มช่องทางการจำหน่ายให้เกษตรกร ให้สามารถเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน แต่จากสภาพปัญหาที่พบในการปลูกผักอินทรีย์ของเกษตรกร คือ ยังขาดความรู้และเทคนิคการผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์และสารชีวภัณฑ์ที่ใช้ในการกำจัดโรค และแมลงและปัญหาในการจำหน่ายผักอินทรีย์ โดยปัญหาส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้น เนื่องจากเกษตรกรผู้ผลิตผักอินทรีย์ไม่สามารถจัดส่งผักในปริมาณที่กำหนดได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้ตลาดสินค้าหยุกชะงัก ซึ่งเป็นผลมาจากเกษตรกรผู้ผลิตผักอินทรีย์ยังขาดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตผักอินทรีย์ การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการผลิตผักอินทรีย์ให้กับกลุ่มเกษตรจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ที่จะช่วยให้การทำเกษตรด้วยระบบเกษตรอินทรีย์เป็นอย่างต่อเนื่องและได้มาตรฐานตามที่กำหนด การให้ความรู้การทปุ๋ยหมักและน้ำหมักคุณภาพสูง การ ควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชด้วยวิธีธรรมชาติ รวมถึงการเข้าศึกษาดูงานแหล่งผลิตผักอินทรีย์(ศูนย์เกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ ) โดยมีความ มุ่งหวังให้ผู้เข้ารับการโครงการสามารถนำองค์ความรู้และเทคนิควิธีไปปฏิบัติได้จริง และสามารถปลูกพืชผักเกษตรอินทรีย์ได้อย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ สามารถลดต้นทุน เพิ่มรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้อย่างยั่งยืน ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรแบบพอเพียง ตามแนวทางอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการปลูกผักกินเองแบบอินทรีย์ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ตามแนวทางศาสตร์ของพระราชา

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตผักอินทรีย์ ปลูกผักสำหรับบริโภคในครัวเรือน อย่างพอเพียงตามแนวทางพระราชดำริเกษตรพอเพียง
2 เพื่อพัฒนาฐานเกษตรอินทรีย์ ตามแนวทางของศาสตร์พระราชา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตผักอินทรีย์
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : จำนวนผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตผักอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
ฐานเรียนรู้การผลิตผักผักอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ถิรนันท์  กิติคู้ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น เมล็ดผัก ปุ๋ยอินทรีย์ หัวสปริ้งเกอร์ ถาดเพาะกล้า ฯลฯ เป็นเงิน 37,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 37,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 37,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 37600.00
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตผักอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ถิรนันท์  กิติคู้ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล