19343 : โครงการสร้างการรับรู้กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพสินค้าและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  26  คน
รายละเอียด  วิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมบ้านแม่ลานเหนือ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ และหรือประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. นิติกาญจน์  นาคประสม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน  รักประยูร
อาจารย์ ดร. เกศินี  วีรศิลป์
อาจารย์ ดร. อัญชลี  รัตนธรรม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านกฏระเบียบ ข้อบังคับ
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.6 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการบริการวิชาการ แก่ชุมชน / สังคม
กลยุทธ์ 66-3.1.6.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริการวิชาการ แก่ชุมชน/สังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 ไว้ตอนหนึ่งว่า “…การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้นต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้นซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด…” หลักปรัชญานี้มุ่งหมายให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฎีของการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำต่าง ๆ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวสู่ความเป็นสากล จากทฤษฎีดังกล่าวนี้ นับได้ว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการปฏิบัติตนในการดำรงชีวิตอย่างพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชน ประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมสามารถนำเอาวัตถุดิบทางการเกษตรมาพัฒนาแปรรูปยกระดับมูลค่าสินค้า โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ในชุมชนท้องถิ่น อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนหรือสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ที่มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการพัฒนาให้คนไทยสามรถพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมถึงมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้โดยได้วางยุทธศาสตร์ว่าด้วยการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม โดยการที่ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนหรือสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์เร่งผลักดันให้ผู้ประกอบการในชุมชนเห็นถึงช่องทางในการพัฒนายกระดับสินค้าให้มีคุณภาพและได้รับการรับรองมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือสินค้าในชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้แก่ชุมชน ดังนั้น ผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนหรือสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะเป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น มีความโดดเด่นแตกต่างกันไป การพัฒนาคุณภาพการผลิตให้ได้มาตรฐานตลอดถึงการพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ผู้ประกอบการจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วน เพราะปัญหาส่วนใหญ่ของชุมชนที่พบมากที่สุดในปัจจุบันและเหมือนกันทุกพื้นที่คือสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ขาดการพัฒนาทั้งในเรื่องบรรจุภัณฑ์ ตรายี่ห้อหรือตราสินค้า ขาดข้อมูลรายละเอียดสินค้าทำให้ผู้ซื้อไม่มั่นใจ และที่สำคัญคือขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและอย่างยั่งยืน ชุมชนบ้านแม่ลานเหนือ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ เป็นหมู่บ้านที่อยู่บนเขาสูงลาดชัน คนในชุมชนส่วนใหญ่รวมกลุ่มกันอย่างเข้มแข็ง มีวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมงานฝีมือ และผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือสินค้าชุมชนต่างๆอีกมากมาย แต่ยังขาดการพัฒนาคุณภาพการผลิตให้ได้มาตรฐานตลอดถึงการพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคและผู้ประกอบการ ขาดการพัฒนาทั้งในเรื่องบรรจุภัณฑ์ ตรายี่ห้อหรือตราสินค้า ขาดข้อมูลรายละเอียดสินค้า ทำให้ผู้ซื้อไม่มั่นใจ ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือสินค้าชุมชนต่างๆ ในชุมชนยังต้องการการรับรองมาตรฐานสินค้า การยกระดับคุณภาพสินตามกฎหมายจากภาครัฐอย่างเร่งด่วนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชนของตนอย่างยั่งยืนต่อไป ดังนั้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวและเพื่อให้เป็นไปตามพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยทรงมุ่งหมายให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฎีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมสามารถนำเอาวัตถุดิบทางการเกษตรมาพัฒนาแปรรูปยกระดับมูลค่าสินค้า โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ในชุมชนท้องถิ่น ประกอบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ซึ่งมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการพัฒนาให้คนไทยสามรถพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมถึงมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ จึงเห็นความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายมาตรฐานสินค้าชุมชน เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนบ้านแม่ลานเหนือมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายมาตรฐานสินค้าชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมให้รับรู้ถึงการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนให้เกิดความชอบธรรมในสังคม เพื่อหาแนวทางให้ชุมชนบ้านแม่ลานเหนือพัฒนาคุณภาพสินค้าตามกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนอย่างยั่งยืนตลอดไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนบ้านแม่ลานเหนือมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายมาตรฐานสินค้าชุมชนให้มากยิ่งขึ้น
2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนบ้านแม่ลานเหนือรับรู้ถึงการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนให้เกิดความชอบธรรมในสังคม
3 เพื่อหาแนวทางให้ชุมชนบ้านแม่ลานเหนือพัฒนาคุณภาพสินค้าตามกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สร้างการรับรู้กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพสินค้าและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
26 คน 26
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : ร้อยละความรู้ความเข้าใจในกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนของผู้เข้าอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ชุมชนบ้านแม่ลานเหนือ มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนแนวทางการพัฒนาคุณภาพสินค้าตามกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนอย่างยั่งยืน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 แนวทาง 2
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.029688 0.019016 0.001296 ล้านบาท 0.05
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมรับการถ่ายทอดกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สร้างการรับรู้กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพสินค้าและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชน และการขอมาตรฐานสินค้าชุมชนตามกฎหมาย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อัญชลี  รัตนธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 2 วัน ๆ ละ 26 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,640 บาท
2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 2 วัน ๆ ละ 26 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,200 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 26 เล่ม ๆ ละ 70 บาท (50 หน้า/เล่ม) เป็นเงิน 1,820 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,660.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,660.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษบรู๊ฟ ปากกา กระดาษ A4 เป็นต้น เป็นเงิน 1,932 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,932.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,932.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 28392.00
ชื่อกิจกรรม :
อภิปรายเสวนา เรื่องการยกระดับคุณภาพสินค้าชุมชนให้ได้รับการรับรองมาตรฐานตามกฎหมายเพื่อสร้างความแข็งแกร่งในการแข่งขันในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการพัฒนาคุณภาพสินค้าตามกฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานสินค้าชุมชนอย่างยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อัญชลี  รัตนธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอภิปรายเสวนาและเจ้าหน้าที่ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 26 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,820 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมเสวนาและเจ้าหน้าที่ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 26 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,920.00 บาท 0.00 บาท 6,920.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปรายเสวนา (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17720.00
ชื่อกิจกรรม :
ประสานงานและเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อัญชลี  รัตนธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ประสานงานโครงการ จำนวน 3 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 240 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 2,160 บาท
1.2 ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนตัว ระยะทาง ไป-กลับ จำนวน 144 กม.ๆ ละ 4 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 1,728 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,296.00 บาท 1,296.00 บาท 1,296.00 บาท 3,888.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3888.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล