19301 : โครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) 2566
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/12/2565 10:55:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/12/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  ห้างสรรพสินค้า และร้านค้ารายย่อยในจังหวัดแพร่ อย่างน้อย 3 ราย/ กลุ่มลูกค้าสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ของโรงงานนำร่องอุตสาหกรรมเกษตร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน การดำเนินโครงการเป็นลักษณะการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ โดยการขายผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหารและผลิตภัณฑ์ทางสัตว์ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน ดังนี้ วัสดุงานบ้านงานครัว 7000 บาท วัสดุวิทยากศาสตร์ 3000 วัสดุเกษตร 5000 บาท รวมเป็นงบประมาณ 150000 บาท และมีเป้าการสร้างรายได้ที่ 21000 บาท 2566 15,000.00
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2566 15,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง ศิรภัสสร  กันถาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.5 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ 66-3.1.5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการที่ก่อให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันตลาดและผู้บริโภคมีแนวโน้มการบริโภคสินค้าที่มีความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้นและหันมาใส่ใจสุขภาพรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าทางโภชนาการจึงส่งผลให้แนวโน้มทางด้านการตลาดของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย และใส่ใจสุขภาพเป็นที่ต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์ที่มีการคัดเลือกวัตถุดิบที่มีคุณภาพ กระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน มีความน่าเชื่อถือ อีกทั้งยังมีการใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่มีความเป็นเกษตรอินทรีย์ ลดการใช้ยาฆ่าแมลง สารเคมีในการปลูก รวมไปถึงกระบวนการแปรรูปที่ลดการใช้วัตถุเจือปนอาหาร สารกันเสียต่างๆ อันเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งได้ โรงงานนำร่องอุตสาหกรรมเกษตร จึงมีแนวคิดในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อจำหน่ายแก่กลุ่มลูกค้าเดิม สำหรับผลิตภัณฑ์ไส้อั่วสมุนไพร ผลิตภัณฑ์แหนมซี่โครงหมู และผลิตภัณฑ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เช่น แยม หยี น้ำผลไม้พร้อมดื่ม ที่พัฒนามาจากโครงการปลูกผักแลกค่าเทอม และโครงการแปรรูปเพื่อจำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีฐานลูกค้าเดิมอยู่แล้ว และเพิ่มกลุ่มลูกค้าใหม่ เพื่อสร้างรายได้ ศูนย์ปศุสัตว์ นอกจากเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อการเรียนการสอนของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และสาขาอื่นๆที่มีความสนใจแล้ว ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่เกษตรกรผู้ที่สนใจเข้ามาเยี่ยมชม เพื่อให้เกิดการพัฒนากระบวนการเรียนรู้อย่างครบวงจร ซึ่งต้องทราบตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำในการผลิตสัตว์ ซึ่งจะนำไปสู่ระบบการจัดการในเชิงธุรกิจซึ่งนับว่ามีส่วนสำคัญในการเรียนการสอนในปัจจุบัน จากเหตุผลความสำคัญดังกล่าว มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงจัดโครงการแม่โจ้ทูมาร์เกต (Maejo to Market : M2M) ขึ้น เพื่อจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ที่สามารถผลิตได้ในมหาวิทยาลัยออกสู่ท้องตลาด รวมถึงเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตร ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในฐานะผู้ผลิต กับ ร้านค้าในจังหวัดในฐานะคนกลางในการจำหน่าย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสร้างรายได้จากการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารของโรงงานนำร่องอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
2 เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากโรงงานนำร่องอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
3 เพื่อสร้างรายได้จากการผลิตผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ของศูนย์ปศุสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
4 เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในฐานะผู้ผลิต กับ ร้านค้าในจังหวัดในฐานะคนกลางในการจำหน่าย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปผลผลิตทางทางเกษตร
KPI 1 : จำนวนเงินรายได้ที่นำส่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
14000 บาท 14000
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของลูกค้า/ผู้บริโภค
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : จำหน่ายผลิตภัณฑ์จากฟาร์มปศุสัตว์
KPI 1 : จำนวนเงินรายได้ที่นำส่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
7000 บาท 7000
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของลูกค้า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปผลผลิตทางทางเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/12/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 7,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
ผลผลิต : จำหน่ายผลิตภัณฑ์จากฟาร์มปศุสัตว์
ชื่อกิจกรรม :
จำหน่ายผลิตภัณฑ์จากฟาร์มปศุสัตว์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/12/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายถวิล  ยานะวิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ด้านการขายผลิตภัณฑ์ทางสัตว์ อาจเกิดความเสี่ยงของการเกิดภาวะโรคระบาด ทำให้รายได้ไม่เป้นไปตามเป้าหมาย
ราคาวัตถุดิบ มีกาปรับราคาสูงขึ้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีแผนการป้องกัน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 โครงการ M2M 2566.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล