19282 : พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนในยุค Next Normal
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.บุษบงค์ ฝั้นแจ้ง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2566  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  สมาชิกกลุ่มเกษตรกรศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง และทีมงานจัดฝึกอบรม
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2566 350,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิยะดา  ชัยเวช
อาจารย์ ดร. จักรพงษ์  สุขพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA66-G-15 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด BA66-KPI-25 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ BA66-S-43 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ระลอกใหม่ในไทยกระจายเป็นวงกว้างและเร็วกว่าการระบาดรอบแรกซึ่งส่งผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และภาคการส่งออกสินค้าที่โดยเฉพาะสินค้าเกษตรที่มีการส่งออก ในระยะข้างหน้า ยังมีความไม่แน่นอนสูงในเรื่องการแพร่ระบาด การกระจายวัคซีน และการปรับพฤติกรรมของประชาชน อีกทั้งในปัจจุบันหลายภาคธุรกิจและครัวเรือนมีฐานะการเงินที่เปราะบางขึ้นมากจากการระบาดรอบแรก ในสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 เป็นสถานการณ์ที่เรียกว่า ความไม่แน่นอนที่ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจทำให้เกิดการหยุดชะงักลงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อาทิเช่น ในช่วงเดือน กค- สค. ของปี 2564 การส่งออกผลไม้ที่เป็นพืชทางเศรษฐกิจของภาคเหนือ อันได้แก่ ลำไย ได้หยุดชะงักในการส่งออกเนื่องจากมีประกาศงดการนำเข้าลำไยจากประเทศไทยเข้าสู่ประเทศจีนโดยใช้มาตรการสุขอนามัยพืชในการออกประกาศ ประกอบกับการระบาดของโควิด 19 ในช่วงดังกล่าวทำให้บริษัทขนส่งภายในประเทศประกาศงดรับการขนส่งผลไม้สดภายในประเทศ เนื่องจากการติดโควิด 19 ของพนักงาน และการประกาศปิดพื้นที่ของบางจังหวัดตามประกาศของสาธารณสุข ทำให้ลำไยที่ออกผลผลิตในช่วงดังกล่าวไม่สามารถส่งออกได้และไม่สามารถจำหน่ายในประเทศได้ ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดที่ยืดเยื้อยาวนานและไม่มีแนวโน้มว่าจะดีขึ้น ทำให้เกษตรกรได้รับผลกระทบถึงรายได้ที่จะได้รับและเงินที่จะต้องใช้ในการลงทุนผลิตลำไยในรอบฤดูกาลถัดไป ดังนั้นการที่จะช่วยให้เกษตรกรการ/กลุ่มเกษตรกรสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนนั้น ควรจะส่งเสริมองค์ความรู้เกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการในการประกอบธุรกิจ เช่น การเปิดหลักสูตรอบรมการนำรูปแบบค้าขายออนไลน์มาใช้ในการทำธุรกิจ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และการบริหารจัดการเงิน เป็นต้น องค์ความรู้ในการประกอบธุรกิจถือเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้ประกอบการมีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ หรือการคิดวางแผนในการบริหารธุรกิจให้ดีขึ้น เพื่อประยุกต์ใช้ให้เข้าสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และสอดรับกับการพัฒนาประเทศสู่ Thailand 4.0 ซึ่งเป็นโมเดลการขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้าหมาย “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เป็นความมุ่งมั่นของรัฐบาลที่ต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานความคิด คือ เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” โดยเน้นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม และเปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น ดังนั้นการขับเคลื่อนเพื่อไปสู่เป้าหมายของ Thailand 4.0 จึงต้องเน้นการบริหารจัดการเทคโนโลยี และการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงจาก Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่ำ ไปสู่ High Value Services และเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีทักษะสูง ทั้งนี้ในการขับเคลื่อนได้มุ่งเน้นการใช้แนวทางพลังประชารัฐ คือ การมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ชุมชนจังหวัด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัยต่างๆ รวมทั้งยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์ของพระราชาเป็นพื้นฐานในการพัฒนา ดังนั้นคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นคณะที่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ การสร้างผู้ประกอบการ และองค์ความรู้ด้านธุรกิจเกษตร จึงได้จัดทำโครงการการเพิ่มศักยภาพความเป็นผู้ประกอบการที่ปรับตัวให้เข้ากับความเสี่ยงภายใต้ความไม่แน่นอนสำหรับกลุ่มเกษตรกรศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ที่ดำเนินกิจกรรมในการจำหน่ายลำไยเบี้ยวเขียว โดยที่ตำบลหนองช้างคืนได้เป็นพื้นที่ในการดำเนินกิจกรรม U2T for BCG ซึ่งกลุ่มได้เรียนรู้การผลิตถ่านไบโอชาร์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกิ่งไม้ลำไย ดังนั้น เพื่อให้เป็นแนวทาง/แนวปฏิบัติในการรับมือกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนที่ส่งผลกระทบต่อการขายลำไยของกลุ่มวิสาหกิจฯ ดังกล่าว หากมีการดำเนินงานของโครงการสำเร็จลงจะมีประโยชน์ต่อกลุ่มเกษตรกรศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ตำบลหนองช้างคืน อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน ยังสามารถดำเนินธุรกิจจำหน่ายลำไยต่อไปนี้โดยลดความเสี่ยงที่กระทบต่อเกษตรกรสมาชิกได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
เพื่อพัฒนาความรู้ในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในธุรกิจเน้นการทำการตลาดเชิงรุกที่จะช่วยเพิ่มอำนาจการต่อรองการขาย
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชนในการดำเนินกิจกรรมทางการตลาดออนไลน์ได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มวิสาหกิจ มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของผู้ประกอบการภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นในการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ต้นแบบตราผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้น 1
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 30 30 คน 30
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
350000 บาท 350000
KPI 6 : จำนวนสื่อในการประชาสัมพันธ์ทางการตลาดออนไลน์ (รูปแบบเว็ปไซต์)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ช่องทาง 1
KPI 7 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (เน้นการตลาดเชิงรุก)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มวิสาหกิจ มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของผู้ประกอบการภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
ชื่อกิจกรรม :
อบรมทักษะการเป็นผู้ประกอบการบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงและการทำแผนธุรกิจแบบ BMC (Business Model Canvas)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 2มื้อ 3 วัน เป็นเงิน 6,300 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 05 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 3 วัน เป็นเงิน 13,500 บาท
3.ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด เอ4 (30 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
4.ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,800 บาท 3 วัน เป็นเงิน 8,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 5,400 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 3 วัน เป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ คลิปหนีบ มาสกิ้งเทป สมุด ฯลฯ เป็นเงิน 1,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 42500.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการทำ Branding และ Content Marketing และการใช้ influencer

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 3 วัน เป็นเงิน 7,350 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 150 บาท 3 มื้อ เป็นเงิน 15,750 บาท
3.ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาดเอ4 (30 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
4.ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,800 บาท 3 วัน เป็นเงิน 8,400 บาท
5.ค่าจ้างออกแบบและจัดทำตราสินค้า เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 58,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 58,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. - ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร
กระดาษ เอ4 ปากกา ปากกาเคมี กระดาษ
บรู๊ฟ คลิปหนีบ มาสกิ้งเทป สมุด ฯลฯ
เป็นเงิน 11,912 บาท
2.- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 23,344 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 35,256.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,256.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 104356.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการคำนวณต้นทุนและการตั้งราคา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,900 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 10,500 บาท
3.ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาดเอ4 (30 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
4.ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,800 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,800.00 บาท 0.00 บาท 22,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษ
เอ4 ปากกา ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ คลิปหนีบมาสกิ้งเทป สมุด ฯลฯ เป็นเงิน 8,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 38800.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผ่านสื่อ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 35 บาท 4 มื้อ เป็นเงิน 4,900 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 150 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 10,500 บาท
3.ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาดเอ4 (30 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆละ 60 บาท จำนวน 2 ชุด เป็นเงิน 3,600 บาท
4.ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,800 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,600 บาท
5.ค่าจ้างเหมาจัดทำและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ออกสื่อ จำนวน 1 ช่องทาง (ในรูปแบบเว็ปไซต์) เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 44,600.00 บาท 44,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1.ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร
กระดาษ เอ4 ปากกา ปากกาเคมี กระดาษ
บรู๊ฟ คลิปหนีบ มาสกิ้งเทป สมุด ฯลฯ
เป็นเงิน 15,600 บาท

2.ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,600.00 บาท 35,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 87400.00
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมการจำหน่ายสินค้าเกษตรภายใต้ความเสี่ยง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จักรพงษ์  สุขพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยะดา  ชัยเวช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 4,900 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 10,500 บาท
3.ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาดเอ4 (30 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
4.ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,800 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 22,800.00 บาท 22,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน
เช่น ปากกา ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ
คลิปหนีบ มาสกิ้งเทป สมุด ฯลฯ
เป็นเงิน 23,600 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 23,344 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 46,944.00 บาท 46,944.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 76944.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 ระลอกใหม่ในไทยกระจายเป็นวงกว้างและเร็วกว่าการระบาดรอบแรกซึ่งส่งผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และภาคการส่งออกสินค้าที่โดยเฉพาะสินค้าเกษตรที่มีการส่งออก ในระยะข้างหน้า ยังมีความไม่แน่นอนสูงในเรื่องการแพร่ระบาด การกระจายวัคซีน และการปรับพฤติกรรมของประชาชน อีกทั้งในปัจจุบันหลายภาคธุรกิจและครัวเรือนมีฐานะการเงินที่เปราะบางขึ้นมากจากการระบาดรอบแรก ในสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 เป็นสถานการณ์ที่เรียกว่า ความไม่แน่นอนที่ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจทำให้เกิดการหยุดชะงักลงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อาทิเช่น ในช่วงเดือน กค- สค. ของปี 2564 การส่งออกผลไม้ที่เป็นพืชทางเศรษฐกิจของภาคเหนือ อันได้แก่ ลำไย ได้หยุดชะงักในการส่งออกเนื่องจากมีประกาศงดการนำเข้าลำไยจากประเทศไทยเข้าสู่ประเทศจีนโดยใช้มาตรการสุขอนามัยพืชในการออกประกาศ ประกอบกับการระบาดของโควิด 19 ในช่วงดังกล่าวทำให้บริษัทขนส่งภายในประเทศประกาศงดรับการขนส่งผลไม้สดภายในประเทศ เนื่องจากการติดโควิด 19 ของพนักงาน และการประกาศปิดพื้นที่ของบางจังหวัดตามประกาศของสาธารณสุข ทำให้ลำไยที่ออกผลผลิตในช่วงดังกล่าวไม่สามารถส่งออกได้และไม่สามารถจำหน่ายในประเทศได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ควรขยายเวลาให้สอดคล้องกับงานวิจัย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล