19264 : โครงการพัฒนานักธุรกิจรุ่นเยาว์และทักษะผู้ประกอบการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นายวิศิษฎ์ พงศ์บุรพัฒน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2565  ถึง  31/08/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  105  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา 2566 14,300.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เถลิงศักดิ์  อังกุรเศรณี
นาย วิศิษฎ์  พงศ์บุรพัฒน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.5 รายได้เริ่มต้นเฉลี่ยต่อเดือนของบัณฑิตระดับปริญญาตรี
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.7 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตให้มีสมรรถนะตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.8 ส่งเสริมให้บัณฑิตก้าวสู่การประกอบอาชีพผู้ประกอบการอิสระที่ใช้นวัตกรรม หรือเทคโนโลยีด้านการเกษตรสมัยใหม่ (Modern Agriculture/ Smart Entrepreneur)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.17 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างความเป็นผู้ประกอบการ เช่นการสร้าง Learning Space และ Working Space เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 66-2.1.1 ผลิตบัณฑิตที่เป็นมืออาชีพด้านสัตวศาสตร์ (มืออาชีพ เน้น ทักษะเชิงปฏิบัติ, มีภาวะผู้นำ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21)
ตัวชี้วัด AS 66-2.4 ความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต
กลยุทธ์ 66-2.1.3 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับ หรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงาน และตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.7 สร้างและส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน Learnings Space และ Working Space พร้อมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.8 พัฒนาหลักสูตร/รายวิชาที่จัดให้มีกระบวนการเรียนรู้ตามศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตัวชี้วัด AS 66-2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 66-2.1.3 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับ หรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงาน และตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.7 สร้างและส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน Learnings Space และ Working Space พร้อมจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กลยุทธ์ 66-2.1.8 พัฒนาหลักสูตร/รายวิชาที่จัดให้มีกระบวนการเรียนรู้ตามศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีได้พัฒนารูปแบบการบูรณาการการเรียนการสอนเพื่อการบ่มเพาะผู้ประกอบธุรกิจทางสินค้าเกษตรโดยเฉพาะด้านสินค้าปศุสัตว์ สำหรับนักศึกษาคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี ในโครงการ “พัฒนานักธุรกิจรุ่นเยาว์” เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในภาพการดำเนินธุรกิจเบื้องต้นผ่านการลงมือปฏิบัติเกิดความเชื่อมั่นตัวเอง ความเชื่อมั่นในความสามารถตนเอง เป็นหลักสำคัญในการดำเนินธุรกิจสู่ความสำเร็จ ซึ่งนักศึกษาจะเกิด กระตุ้นการแสดงความคิดเห็นผ่านมุมมองการทำธุรกิจ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง และตั้งคำถามกับตัวเองในการเป็นผู้ประกอบการ หรือนักธุรกิจ มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาที่มันซับซ้อน ก่อให้เกิดทักษะพัฒนาที่ถูกต่อยอดไปเป็นทักษะการคิดนอกกรอบและการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่ต่างไปจากเดิม รวมถึงพัฒนาทักษะความเอาใจใส่ ความสามารถในการรักษาความสัมพันธ์หรือการสนับสนุนผู้อื่น เป็นทักษะที่มีค่าของประกอบการให้ความสำคัญของการเอาใจใส่และการรักษามิตรภาพเป็นอย่างดีระหว่างผู้ประกอบการและลูกค้า ในการรับฟังและเคารพการตัดสินใจหรือการแสดงออกความคิดเห็นของผู้รับบริการ เพื่อเรียนรู้การรับฟังผู้อื่นในความคิดเห็นที่แตกต่างได้ เกิดทักษะมองบวก ให้ผู้ประกอบการเป็นตัวแบบของคนที่มีความคิดด้านบวก มองเห็นว่า สิ่งที่กำลังจะทำนั้น สามารถเป็นจริงด้วยมือของเราได้ นอกจากเรื่องธุรกิจแล้ว ทักษะมองบวกยังส่งผลดีต่อสังคมคนรอบข้างและสุขภาพตนเอง เพราะสามารถรับมือกับความกดดันความตึงเครียดได้และเล็งเห็นความสำคัญของการตอบแทนสังคม การทำให้สังคมน่าอยู่ มีความเอื้ออาทรต่อกัน และมีความสุข เป็นการสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น ดังนั้น จากประสบการณ์ที่นักศึกษาจะได้รับในโครงการนี้จะเป็นการปูพื้นฐานเพื่อเตรียมความพร้อมรอบด้านให้กับนักศึกษาเกิดการสร้างแรงบันดาลใจให้ ได้ค้นหาและพัฒนาตนเอง กล้าคิดกล้าแสดงออก และลงมือทำในสิ่งสอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง เพื่อผลักดันให้เติบโตเป็นผู้ประกอบการด้านสินค้า ปศุสัตว์รุ่นใหม่ก้าวสู่ความสำเร็จในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
10.1 เพื่อสร้างนักศึกษาที่มีความรอบรู้ในด้านการประกอบธุรกิจเบื้องต้น
10.2 เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทำธุรกิจเพื่อเป็นแนวทางในการทำธุรกิจในอนาคต
10.3 นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติจริง โดยเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่ประสบความสำเร็จในด้านธุรกิจ
10.4 สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ค้นหาและพัฒนาตนเอง กล้าคิดกล้าแสดงออกและลงมือทำในสิ่งที่สอดคล้องกับศักยภาพของตน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการพัฒนานักธุรกิจรุ่นเยาว์และทักษะผู้ประกอบการ
KPI 1 : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้พัฒนาขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ชิ้น 5
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมมีทักษะและความรู้ด้านวิชาการเป็นผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
105 คน 105
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการพัฒนานักธุรกิจรุ่นเยาว์และทักษะผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 ยุวสัตวบาลสร้างอาชีพสู่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2566 - 31/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เถลิงศักดิ์  อังกุรเศรณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การจัดการธุรกิจด้านปศุสัตว์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2566 - 31/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เถลิงศักดิ์  อังกุรเศรณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารกลางวัน (50คน x 30บาท x 1มื้อ) เป็นเงิน 1,500 บาท
-ค่าอาหารว่างแลเครื่องดื่ม (50คน x 20บาท x 2มื้อ) เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (6 ชั่วโมง x 300 บาท) เป็นเงิน 1,800บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว(เช่น กะละมัง, ถ้วย, เครื่องปรุง ฯลฯ) เป็นเงิน 3,000บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8300.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 สร้างนักธุรกิจรุ่นใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 31/08/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เถลิงศักดิ์  อังกุรเศรณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน (เช่น กรรไกร,ฟิวเจอร์บอร์ด,กระดาษAสี่,กาวสองหน้า, ปากกาเคมี) เป็นเงิน 2,000 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้าน (เช่น มีด, ถ้วย, จาน, ตะกร้า) เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล