19223 : โครงการสกัดและวิเคราะห์สารอิพิแกลโลคาเทชิน-3-แกลเลต (EGCG) ในชาเมี่ยง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/11/2565 9:29:37
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
14/12/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  15  คน
รายละเอียด  กลุ่มผู้ปลูกชาเมี่ยง บ้านตาแวน ตำบลเรือง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 2566 188,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ธัญญรัตน์  เชื้อสะอาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-3 เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 66-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 66-3.1.8 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ 66-3.1.8.1 บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) เป็นโรคระบาดที่อันตรายที่สุดในขณะนี้ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตสูงในหลายประเทศ เป็นไวรัสที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจในมนุษย์ โดยมีอาการตั้งแต่มีไข้ ไอเรื้อรัง หายใจลำบาก และอาการทางเดินหายใจอื่นๆ เนื่องด้วยการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ทั่วโลก องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศให้เป็นภาวะการระบาดใหญ่ระดับโลก ประชากรอายุน้อยที่มีระบบภูมิคุ้มกันแข็งแรงจะมีความเสี่ยงต่ำกว่าและมักได้รับผลกระทบเล็กน้อยจากโรค ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะสุขภาพพื้นฐาน เช่น โรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมะเร็ง ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ COVID-19 ชาเมี่ยง หรือ ชาอัสสัม (Camellia sinensis var. assamica) มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ สารในกลุ่มของฟลาโวนอยด์และโพลิฟีนอลต่างๆ โดยเฉพาะสารในกลุ่มที่เรียกว่า คาเทชิน ซึ่งเป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอลและมีอยู่ในใบเมี่ยงสดจำนวนมาก โดยมีปริมาณถึง 60-70% ของปริมาณโพลิฟีนอลทั้งหมด สารกลุ่มคาเทชินที่มีมากในใบเมี่ยงสด คือ (-)-epigallocatechin-3-gallate (EGCG), (-)-epigallocatechin (EGC), (-)-epicatechin gallate (ECG) and (-)-epicatechin (EC) จากการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ มีรายงานว่า EGCG ซึ่งเป็นโพลีฟีนอลในชาสามารถยับยั้ง SARS-CoV-2 3CL-protease ได้ งานวิจัยนี้จึงสนใจวิธีการสกัดเพื่อให้ได้ปริมาณ EGCG สูง การวิเคราะห์สาร EGCG ด้วยเทคนิค HPLC รวมถึงการศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากชาเมี่ยง การศึกษาสารสำคัญในชาเมี่ยง สามารถพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ป้องกันหรือรักษาผู้ป่วยโควิด-19 หรือ ใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง เป็นการเพิ่มมูลค่าของชาเมี่ยง ส่งผลให้ผู้ปลูกชาเมี่ยงมีรายได้เพิ่มขึ้น สอดคล้องกับแนวพระราชดำริและพันธกิจของมหาวิทยาลัย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2 เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารอิพิแกลโลคาเทชิน-3-แกลเลต (Epigallocatechin-3-gallate; EGCG) จากชาเมี่ยง
3 เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการวิเคราะห์สาร EGCG และองค์ประกอบอื่น ด้วยเทคนิค HPLC
4 เพื่อศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากชาเมี่ยง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการสกัดและวิเคราะห์สารอิพิแกลโลคาเทชิน-3-แกลเลต (EGCG) ในชาเมี่ยง
KPI 1 : องค์ความรู้เกี่ยวกับสารสกัด EGCG ที่ได้ สามารถวิจัยและพัฒนาต่อยอดเพื่อใช้รักษาผู้ป่วยโควิด-19 หรือ ใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง และองค์ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์สาร EGCG ด้วยเทคนิค HPLC จะเป็นประโยชน์ในการตรวจวิเคราะห์เพื่อควบคุมคุณภาพของสารสกัด EGCG ในชาเมี่ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
KPI 2 : การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการวิเคราะห์สาร EGCG ด้วยเทคนิค HPLC
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
144500 42000 1500 บาท 188000
KPI 5 : การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสาร EGCG จากชาเมี่ยงให้ได้ปริมาณสูง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 6 : การศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากชาเมี่ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการวิเคราะห์สาร EGCG ด้วยเทคนิค HPLC
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการสกัดและวิเคราะห์สารอิพิแกลโลคาเทชิน-3-แกลเลต (EGCG) ในชาเมี่ยง
ชื่อกิจกรรม :
1. การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสาร EGCG จากชาเมี่ยงให้ได้ปริมาณสูง
2. การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการวิเคราะห์สาร EGCG ด้วยเทคนิค HPLC
3. การศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณ ฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากชาเมี่ยง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/12/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ธัญญรัตน์  เชื้อสะอาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำเล่มรายงานความก้าวหน้าและเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 3 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 5,000 บาท
2. ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 2,000 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 7,000 บาท
4. ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เป็นเงิน 3,000 บาท
5. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 169,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 144,500.00 บาท 42,000.00 บาท 0.00 บาท 186,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 188000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล