19209 : โครงการเตรียมความพร้อมและส่งต่อความรู้เเก่เยาวชนเพื่อเป็น ASEAN Digital Citizen (Train of Master Trainers : ASEAN Digital Literacy Programme)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเนตรนภา ธะนันต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/11/2565 11:03:44
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  28/02/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบุคคลภายนอก
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองเทคโนโลยีดิจิทัล หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน - 2566 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย วุฒิพล  คล้ายทิพย์
นาง อรณุตรา  จ่ากุญชร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณภัทร  เรืองนภากุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองพัฒนานักศึกษา
กองเทคโนโลยีดิจิทัล
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.6 เป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในทุกพันธกิจของมหาวิทยาลัยอย่างเต็มรูปแบบ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของโลก (Digital University)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.12 ความสำเร็จของการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็น Digital University
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.6.1 พัฒนาการให้บริการต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยในรูปแบบดิจิทัล
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ ICT65-69 การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยดิจิทัล
เป้าประสงค์ ICT65-69 3. เพื่อพัฒนาทักษะนักศึกษา บุคลากร เกษตรกร
ตัวชี้วัด ICT65-69 3 2. นักศึกษาที่ผ่านระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ICT65-69 3. Digital Literary
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันทำให้รูปแบบการใช้ชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว ความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital Literacy จึงเป็นเรื่องสำคัญ โดยทักษะความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีจัดเป็นทักษะพื้นฐานในยุคดิจิทัลจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้กองเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงได้จัดทำโครงการ Train of Master Trainers : ASEAN Digital Literacy Programme ให้กับอาจารย์และบุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อสร้างวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญในการสร้างความตระหนักรู้ในหลักการสำคัญต่างๆ เกี่ยวกับการรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) ให้มี ทักษะและความสามารถต่างๆ ที่สำคัญและจำเป็นภายใต้การรู้ดิจิทัล และยังเป็นการเพิ่มทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลให้กับบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล
2. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้เป็นวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญในการสร้างความตระหนักรู้ในหลักการสำคัญต่างๆ เกี่ยวกับการรู้ดิจิทัล (Digital Literacy)
3. เพื่อพัฒนาทักษะดิจิทัลของนักศึกษาให้สอดคล้องกับ ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ปี 2565
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : มาสเตอร์เทรนเนอร์ 20 คน จำนวนผู้เข้ารับการอบรม 1,500 คน
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมการอบรมจากโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ ASEAN Digital Literacy
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1500 คน 1500
KPI 2 : มาสเตอร์เทรนเนอร์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : มาสเตอร์เทรนเนอร์ 20 คน จำนวนผู้เข้ารับการอบรม 1,500 คน
ชื่อกิจกรรม :
จัดอบรม 3 กิจกรรม ประกอบด้วย
1. กิจกรรม Train of Master Trainers : ASEAN Digital Literacy Programme โดยการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ MOOC.MJU.AC.TH (เนื้อหาพัฒนาจาก Asia Centre และ UNESCO)
2. กิจกรรม Train of Master Trainers : ASEAN Digital Literacy Programme อบรมในรูปแบบ Onsite โดยวิทยากรจาก Asia Centre
3. กิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ ASEAN Digital Literacy

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 28/02/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล