19182 : โครงการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคติดเชื้อพยาธิในเลือดในแพะนมและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากนมแพะในโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ บ้านดงเย็น
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางปราณี กันธิมา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/1/2566 16:30:37
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  เจ้าหน้าที่ในโครงการฟาร์มตัวอย่างฯ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. วศิน  เจริญตัณธนกุล
รองศาสตราจารย์ ดร. วาที  คงบรรทัด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มธุรส  ชัยหาญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐปน  ชื่นบาล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.3 พัฒนาองค์ความรู้และผลักกดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 4. การถ่ายทอดองค์ความรู้และการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศก่อเกิดการบริการวิชาการเชิงพานิชย์ และเชิงสาธารณะ
เป้าประสงค์ 4.1 สร้างกลุ่มนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านบริการวิชาการ งานวิจัย และนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 1 1. ร้อยละผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการ และผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ บ้านดงเย็น อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโครงการในพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 เมื่อคราวเสด็จเยี่ยมราษฎร ณ บ้านห้วยสะแพด หมู่ที่ 9 ตำบลแม่สอย อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยทรงให้จัดหาพื้นที่บริเวณใกล้เคียง เพื่อสร้างอาชีพให้ราษฎรที่มีฐานะยากจนได้มีงานทำ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 ร่วมกับนายสหัส บุญญาวิวัฒน์ ผู้ช่วยเลขาธิการพระราชวัง ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ ได้สำรวจคัดเลือกพื้นที่บริเวณป่าสงวนชาติ ป่าท่าธารบ้านดงเย็น หมู่ที่ 15 ตำบลบ้านแปะ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เนื้อที่ประมาณ 300 ไร่ และให้จัดตั้งโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ บ้านดงเย็น ตำบลบ้านแปะ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ขึ้น โครงการฟาร์มตัวอย่างฯประกอบด้วยชุมชนหมู่บ้านชาวไทยพื้นเมือง จำนวน 4 หมู่บ้านได้แก่บ้านดงเย็น บ้านท่ากอม่วง บ้านสบแจ่มฝั่งซ้าย และบ้านบวกห้า และชุมชนหมู่บ้านชาวไทยกะเหรี่ยงจำนวน 1 หมู่บ้านได้แก่ บ้านห้วยสะแพด ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตร ปัจจุบันโครงการฟาร์มตัวอย่างฯ เลี้ยงแพะนมเพื่อจำหน่ายนมแพะ รวมถึงจำหน่ายลูกแพะเพศเมียเพื่อนำไปทำพันธุ์ และลูกแพะเพศผู้เพื่อขุนผลิตเนื้อ ปัจจุบันมีแพะนมทั้งหมดประมาณ 130 ตัว ปัญหาเรื่องสุขภาพของแพะที่พบคือ อาการซีดและแท้งที่ไม่ทราบสาเหตุ โรคติดเชื้อพยาธิในเลือดเป็นโรคที่พบบ่อยในแพะในประเทศไทย เป็นโรคที่นำโดยเห็บที่ติดเชื้อริกเกตเซียและโปรโตซัว โรคนี้เกิดจากการที่เห็บที่มีเชื้อดังกล่าวกัดและปล่อยเชื้อเข้ากระแสเลือดแพะ ทำให้เม็ดเลือดแดงแตก เกล็ดเลือดต่ำ ซีด หากไม่ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องและการรักษาที่เหมาะสมและทันเวลา สัตว์มักจะตาย แพะที่กำลังป่วยจะให้ผลผลิตน้ำนมลดลงมาก แพะที่กำลังตั้งท้องจะแท้งลูก การตรวจพบเจอโรคนี้ในช่วงเริ่มต้นของอาการป่วยและให้การรักษามักจะให้ผลการรักษาที่ดี การวินิจฉัยโรคติดเชื้อพยาธิในเลือดในปัจจุบันทำโดยการย้อมฟิล์มเลือดบางด้วยสี Wright’s giemsa ซึ่งมีราคาถูก ทำได้รวดเร็ว แต่มีโอกาสเจอเชื้อน้อย และต้องทำโดยผู้ชำนาญการเท่านั้น ในปัจจุบันห้องปฏิบัติการวิจัยเพื่อส่งเสริมภูมิต้านทานในมนุษย์และสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้พัฒนาเทคนิค multiplex polymerase chain reaction (PCR) ที่สามารถตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อก่อโรคพยาธิในเลือดแพะหลายชนิดได้พร้อมกันในปฏิกิริยาเดียว ได้แก่เชื้อ Anaplasma ovis, Anaplasma phagocytophilum, Babesia spp. และ Theileria ovis ซึ่งเทคนิคที่พัฒนาขึ้นนี้มีความไวสูง ประหยัดเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถตรวจได้หลายตัวอย่างพร้อมกัน ซึ่งปัจจุบันได้ให้บริการตรวจตัวอย่างเลือดให้แก่ฟาร์มแพะเอกชนในจังหวัดเชียงราย โดยสามารถรายงานผลกลับให้ฟาร์มภายใน 3 วันทำการหลังจากที่ได้รับตัวอย่าง นอกจากการตรวจและรักษาโรคติดเชื้อพยาธิในเลือดในแพะแล้ว ทางโครงการฟาร์มตัวอย่างฯ ยังต้องการองค์ความรู้ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากนมแพะ เพื่อพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถสร้างรายได้ และสามารถพัฒนาต่อยอดไปสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเลี้ยงแพะนมให้แก่ชุมชนในวงกว้างต่อไป สอดคล้องกับโครงการพระราชดำริ : โครงการพัฒนาด้านการเกษตร และโครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ (โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ บ้านดงเย็น อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 ตรวจวินิจฉัยความชุกของการติดเชื้อพยาธิในเลือดในแพะนมด้วยเทคนิค multiplex PCR พร้อมให้การรักษา
7.2 อบรมการจัดการสุขภาพแพะนม
7.3 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการผลิตเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของซีรั่มน้ำนมแพะ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การได้รับบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคติดเชื้อพยาธิในเลือดในแพะและได้เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของซีรั่มน้ำนมแพะ
KPI 1 : เชิงเวลา - ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (Output) เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (Outcome) เชิงคุณภาพ - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (Output) เชิงปริมาณ - จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 5 : เชิงต้นทุน - ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 6 : ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (Output) เชิงปริมาณ -ร้อยละของเกษตรกรที่สามารถนำความรู้ไปต่อยอดเป็นอาชีพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ร้อยละ 50
KPI 7 : เชิงคุณภาพ - ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (Output) เชิงปริมาณ - จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้น 1
KPI 9 : ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (Output) เชิงปริมาณ -ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากผลิตภัณฑ์แปรรูปเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของซีรั่มน้ำนมแพะ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ร้อยละ 50
KPI 10 : เชิงคุณภาพ - ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การได้รับบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคติดเชื้อพยาธิในเลือดในแพะและได้เครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของซีรั่มน้ำนมแพะ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรและเจาะเลือดและให้ยารักษาโรคติดเชื้อพยาธิในเลือดในแพะ และการผลิตเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของซีรั่มน้ำนมแพะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วศิน  เจริญตัณธนกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.วาที  คงบรรทัด (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มธุรส  ชัยหาญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน ๆ ละ 250 บาท 1 มื้อ 2 วันเป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าที่พัก จำนวน 1 คืน คืนละ 800 บาท/ห้อง จำนวน 4 ห้อง เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาผลิตเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของซีรั่มน้ำนมแพะ เป็นเงิน 11,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
งบดำเนินงาน
ตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 1 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 3 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 1 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 3 คน 2 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท


ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 1 คน ๆละ 1 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 1 คน ๆละ 1 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 วัน เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คนๆ ละ 200 บาท 2 วัน เป็นเงิน 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุ
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ชุดเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมและไพรเมอร์ หลอดเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม ผงอะกาโรส/น้ำยา TBE/น้ำยา ethidium bromide เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น thumb drive เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 47500.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วศิน  เจริญตัณธนกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.วาที  คงบรรทัด (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มธุรส  ชัยหาญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
งบดำเนินงาน
วัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ/CD/ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบูรณาการกับการเรียนการสอน : โครงการนี้ส่งเสริมการบูรณาการความรู้ร่วมกันของนักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการสกัดและการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมด้วยเทคนิค multiplex PCR และการแปรรูปอุตสาหกรรมนม และนักศึกษาในคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ต้องฝึกปฏิบัติการจับบังคับสัตว์และการเจาะเก็บตัวอย่างเลือดสัตว์ ซึ่งนักศึกษาทั้งสองคณะจะได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติงานร่วมกันในภาคสนามและในห้องปฏิบัติการ
ช่วงเวลา : 01/12/2565 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล