19165 : โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/11/2565 14:31:59
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/10/2565  ถึง  29/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  580  คน
รายละเอียด  ผู้รับบริการจากหน่วยงานภายนอก รวมถึงนักเรียนและนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ของคณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน จำนวน 30,000 บาท 2566 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง ณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.3 พัฒนาองค์ความรู้และผลักกดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.19 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.4 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.22 รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.8 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-66-2.1 ผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพ และส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-66-2-8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FT-66-2.1.5 พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพในสาขาวิชาและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
เป้าประสงค์ FT-66-2.3 ส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านการประมงให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด FT-66-2-23 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น
กลยุทธ์ FT-66-2.3.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
ตัวชี้วัด FT-66-2-24 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ FT-66-2.3.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
ตัวชี้วัด FT-66-2-25 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ FT-66-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตัวชี้วัด FT-66-2-26 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ FT-66-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตัวชี้วัด FT-66-2-27 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT-66-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตัวชี้วัด FT-66-2-28 รายได้จากการให้บริการวิชาการ (อบรม ดูงาน ที่ปรึกษา วิทยากร ฯลฯ)
กลยุทธ์ FT-66-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
เป้าประสงค์ FT-66-6.1 พัฒนาอัตลักษณ์ตามจุดเน้นของคณะ
ตัวชี้วัด FT-66-6-4 จำนวนเครือข่ายชุมชน/ศิษย์เก่า ที่เป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
กลยุทธ์ FT-66-6.1.3 สร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนให้แก่ชุมชน และสร้างเครือข่ายชุมชนให้เป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมด้านการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการและวิจัย เพื่อรองรับการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านการประมง ที่มุ่งเน้นความต้องการที่สอดรับกับการพัฒนาสังคมอย่างรู้เท่าทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน เพื่อใช้ประโยชน์ในการกำหนดทิศทางการบริการวิชาการแก่ชุมชนและพัฒนาผู้เรียนตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนการบริการวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องด้วยแผนงานบริการวิชาการด้านการประมง เป็นหนึ่งในพันธกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ด้วยการสนับสนุนให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการให้บริการวิชาการแก่สังคมตามความเชี่ยวชาญ และตามบริบทของแต่ละหน่วยงาน สร้างและพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการเกษตรและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เพื่อการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคม พัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการเกษตรเพื่อเป็นที่พึ่งของตนเองและสังคม ตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555 – 2569) ดังนั้น เพื่อความต่อเนื่องการดำเนินกิจกรรมทางการประมงตามความต้องการของกลุ่มชุมชนเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ของคณะฯ ด้านการบริการวิชาการ ร่วมกับ การพัฒนาเครือข่ายชุมชนและฐานเรียนรู้ เพื่อเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา ในรูปแบบการฝึกปฏิบัติการนอกห้องเรียน ปีงบประมาณ 2566 คณะเทคโนโลยีการประมงฯ จึงได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน” โดยมุ่งหวังให้เกิดการบริการวิชาการแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างผู้สอน (คณาจารย์ และบุคลากรของคณะฯ) ผู้เรียน (นักศึกษาสังกัดคณะฯ นิสิตและนักเรียนจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ) และผู้รับบริการจากหน่วยงานภายนอก (เกษตรกร สมาชิกกลุ่มงานเครือข่ายชุมชน และผู้สนใจทั่วไป) ได้รับความรู้ด้านการประมง เรียนรู้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมทางการประมง เกิดทักษะการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาการให้บริการวิชาการด้านการประมงแก่ชุมชนและสังคมที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรมีการบูรณาการกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการมาประยุกต์ใช้ในในด้านการเรียนการสอนหรืองานวิจัยและการให้บริการวิชาการ
เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนที่มีการดำเนินงานด้านการประมงและเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการตรวจวิเคราะห์ทางการประมงรองรับกิจกรรมการให้บริการวิชาการแบบมีรายได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้รับบริการจากงานบริการวิชาการมีความรู้ทางด้านการประมงแบบบูรณาการและสามารถนำไปพัฒนาชุมชนได้อย่างยั่งยืน
KPI 1 : ระดับคะแนนประโยชน์และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และหรือกิจกรรมด้านการประมงในพื้นที่ต่อการพัฒนาชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 2 : จำนวนครั้งในการออกพื้นที่ดำเนินกิจกรรมบริการวิชาการในชุมชนเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 2 2 1 ครั้ง 6
KPI 3 : ระดับคะแนนความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 4 : ร้อยละของจำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ /กิจกรรมบริการวิชาการ (จากจำนวน 30 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 30 30 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละของโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 30 30 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละของจำนวนผู้รับบริการจากหน่วยงานภายนอก เช่น เกษตรกร บุคคลทั่วไป (จากจำนวน 500 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 30 30 ร้อยละ 90
KPI 7 : จำนวนองค์ความรู้ที่นำไปให้บริการวิชาการและหรือการวิจัยสู่ชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 เรื่อง 5
KPI 8 : ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของการเข้ารับบริการวิชาการต่อชุมชน/องค์กร/สังคม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 9 : ร้อยละของจำนวนโครงการบริการวิชาการคณะฯ ปีงบประมาณ 2566 ร่วมบูรณาการกับการพัฒนาชุมชนเป้าหมาย (จากจำนวน 6 โครงการ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 ร้อยละ 50
KPI 10 : ร้อยละของจำนวนผู้รับบริการจากหน่วยงานต่างประเทศที่เข้ารับบริการวิชาการด้านการประมง (จำนวน 50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 30 30 ร้อยละ 90
KPI 11 : ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการจากการเข้าร่วมโครงการต่อการเรียน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 12 : จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมส่งเสริมโครงการตามแนวพระราชดำริ (ด้านการประมง)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 13 : จำนวนเครือข่ายชุมชน/ห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 ชุมชน 3
KPI 14 : ระดับคะแนนคงามคุ้มค่าของต้นทุนประสิทธิผลความสำเร็จ (Cost-effectiveness:CERs ) ในการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 15 : จำนวนรายรับจากการให้บริการวิชาการ (ครอบคลุมทุกกิจกรรม)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1500 1500 2000 บาท 5000
KPI 16 : จำนวนฐานเรียนรู้หรือหน่วยเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา (ฐานเรียนรู้ทั้งภายในคณะฯและชุมชนที่มีการบูรณาการร่วมกับรายวิชาของคณะฯ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 ฐาน 3
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้รับบริการจากงานบริการวิชาการมีความรู้ทางด้านการประมงแบบบูรณาการและสามารถนำไปพัฒนาชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
การส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/10/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสรา  กิจเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อานุภาพ  วรรณคนาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.นงพงา  แสงเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.น้ำเพชร  ประกอบศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 5 คน ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,000.00 บาท 2,000.00 บาท 1,800.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักสำหรับบุคลากร จำนวน 5 คน ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,600.00 บาท 1,600.00 บาท 1,600.00 บาท 3,200.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนตัว ไป-กลับ จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 450 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 1,100.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,000.00 บาท 2,000.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง เป็นเงิน 2,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
400.00 บาท 1,000.00 บาท 800.00 บาท 400.00 บาท 2,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
จำนวนผู้เข้ารับบริการไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
เกษตรกรหรือบุคคลทั่วไปมีช่องทางการติดต่อรับบริการหลายช่องทางจึงไม่สามารถกำหนดการล่วงหน้าได้
องค์ความรู้ทางด้านการประมงที่เกษตรกรต้องการขาดความต่อเนื่องในการพัฒนา และบางส่วนคณะฯ ยังไม่พร้อมให้บริการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
คณะกรรมการบริการวิชาการดำเนินงานตามแผนและประเมินความต้องการของผู้รับบริการที่สอดคล้องตามวัตถุประสงค์
คณะกรรมการบริการวิชาการดำเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการหน่วยด้วยการประชาสัมพันธ์ระบบและกลไกการให้บริการต่องานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล