19161 : โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางกายสำหรับชุมชนในย่านนวัตกรรมเกษตร อาหารและสุขภาพแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ สีดาเพ็ง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/11/2565 11:05:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2565  ถึง  30/08/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน ประกอบด้วย 1) บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2) ประชาชนที่อาศัยอยู่ในย่านนวัตกรรมเกษตร อาหารและสุขภาพแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณในการดำเนินโครงการฯ 0 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อานนท์  สีดาเพ็ง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA66-มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ LA66-2.8 มีการบริการวิชาการที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา
ตัวชี้วัด LA66 -2.8 จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา (ตัวชี้วัดคณะ)
กลยุทธ์ LA66-2.7-3. ส่งเสริมความร่วมมือการจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการศึกษาบริบทด้านสังคมภายในประเทศที่พบว่า “คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น แต่การเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง” สอดคล้องกับผลการศึกษาขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า การพัฒนาของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้บุคคลมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปจนส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชากรโลกในทุกช่วงอายุ ภายใต้สภาพการณ์ดังกล่าว จำเป็นต้องส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับบุคคล ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของประชาชนในชุมชน จึงเป็นที่มาของ “โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางกายสำหรับชุมชนในย่านนวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพแม่โจ้” ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและลดปัญหาดังกล่าวข้างต้น โดยการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึง เข้าใจ และประยุกต์ใช้องค์ความรู้ เพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับบริบทของชุมชน รวมถึงเป็นการเตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อเข้าสู่ย่านนวัตกรรมเกษตรอาหารและสุขภาพแม่โจ้ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อประเมินระดับสุขภาวะทางกายของผู้เข้าร่วมโครงการฯ
2. เพื่อพัฒนาแนวทางจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางกายที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 100 คน
KPI 1 : จำนวนผู้เข้ารับการตรวจและประเมินระดับสุขภาวะทางกาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 คน 100
ผลผลิต : คู่มือ “แนวทางจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางกายสำหรับชุมชนในย่านนวัตกรรมเกษตร อาหารและสุขภาพแม่โจ้”
KPI 1 : คู่มือ "แนวทางจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางกายที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน"
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 100 คน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ (Work Shop) เพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางกายสำหรับชุมชนในย่านนวัตกรรมเกษตร อาหารและสุขภาพแม่โจ้ ระยะเวลา 50 ชั่วโมง (10 กิจกรรม/กิจกรรมละ 5 ชั่วโมง)
กิจกรรมย่อย 1.1 การตรวจ วัด และประเมินสุขภาวะทางจิตใจ : สุขภาพจิต แรงจูงใจ และการป้องกันภาวะหมดไฟ (Burn Out)
กิจกรรมย่อย 1.2 การตรวจ วัด และประเมินสุขภาวะทางกาย (1) : องค์ประกอบของร่างกาย (RHR, BP, รอบเอว, รอบสะโพก, น้ำหนัก, ส่วนสูง, BMI, BFP, Fat Mass, Muscle Mass, Body Age, Body Type เป็นต้น)
กิจกรรมย่อย 1.3 การตรวจ วัด และประเมินสุขภาวะทางกาย (2) : สมรรถภาพทางกาย (ความอ่อนตัว, สมรรถภาพของกล้ามเนื้อ, สมรรถภาพของระบบไหลเวียนเลือดและหายใจ, การทรงตัว เป็นต้น)
กิจกรรมย่อย 1.4 Healthy Movement : การวิเคราะห์ท่านั่ง ยืน เดิน เพื่อลดอาการ Office Syndrome
กิจกรรมย่อย 1.5 The Diet Alternative : โภชนาการทางเลือก
กิจกรรมย่อย 1.6 Diet Planning & Calorie Counter : การวางแผนโภชนาการ ตารางอาหาร และการคำนวณพลังงาน
กิจกรรมย่อย 1.7 Target Heart Rate & FITT Principle : การกำหนดชีพจรเป้าหมาย และหลักการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพ
กิจกรรมย่อย 1.8 Exercise Planning : การวางแผนการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพ
กิจกรรมย่อย 1.9 Health Calculator : สูตรคำนวณสุขภาพ
กิจกรรมย่อย 1.10 Diet and Exercise Programs : สรุปผลการประเมินสุขภาพ เพื่อกำหนดโปรแกรมโภชนาการและการออกกำลังกายตามแต่ละบุคคล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/08/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์  สีดาเพ็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : คู่มือ “แนวทางจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางกายสำหรับชุมชนในย่านนวัตกรรมเกษตร อาหารและสุขภาพแม่โจ้”
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพื่อพัฒนาแนวทางจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางกายที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2565 - 30/08/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์  สีดาเพ็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา ศป011 การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพ และรายวิชาในหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสุขภาพชุมชน (ในประเด็นการพัฒนาความรอบรู้ด้านโภชนาการ, การออกกำลังกาย, สุขภาวะทางจิต)
ช่วงเวลา : 01/12/2565 - 30/08/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับเยาวชน
ช่วงเวลา : 01/12/2565 - 30/08/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล