19141 : โครงการพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตรในด้านการพัฒนาหลักสูตรและการประเมินผลหลักสูตร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
11/11/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  19  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตรภายในวิทยาลัยพลังงานทดแทน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย กองทุนทั่วไป งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการพัฒนางานเดิม (มิติที่6)
จำนวน 25,000 บาท
2566 25,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง เพ็ญศิริ  หน่อแก้ว
น.ส. อัญชลี  สายเขียว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติกร  สาสุจิตต์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.9 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 66-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 66-2.1.6 66-2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายในของส่วนงาน
กลยุทธ์ 66-สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 66-6.1 การบูรณาการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดค่าใช้จ่ายและแสวงหารายได้
ตัวชี้วัด 66-6.1.7 ฐ 66-6.1.7 ฐานข้อมูล/วารสาร/การประชุมวิชาการ ด้านพลังงาน
กลยุทธ์ 66-สนับสนุนให้คณาจารย์จัดทำฐานข้อมูล/วารสาร/การประชุมวิชาการ ด้านพลังงาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ซึ่งสถาบันต้องสร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการดำเนินงานของสถาบันให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าประสงค์ และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดโดยสถาบันและหน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการวัดผลสำเร็จของการประกันคุณภาพ และเปิดเผยต่อสาธารณชน มีการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมีนวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจได้ว่าสถาบันสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ วิทยาลัยพลังงานทดแทน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินการในกระบวนการประกันคุณภาพว่ามีความสำคัญ จึงได้สร้างระบบการดำเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษาซึงปีการศึกษา 2565 ทุกหลักสูตรเข้ารับการประเมิน Guide to AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 และในปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยพลังงานทดแทน ได้มีนโยบายส่งเสริมให้กับอาจารย์ประจำหลักสูตรทุกหลักสูตรเข้ารับกรอบรมเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรด้วยเกณฑ์ Guide to AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 หรือเข้ารับการอบรมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. เพื่อใช้ในหลักสูตรฯ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าฝึกอบรมเกณฑ์ Guide to AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 มาใช่ในการจัดทำรายงานประเมินตนเองของหลักสูตร
เพื่อนำผลการจัดการความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาไปปรับใช้หรือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนงานประกันคุณภาพของหน่วยงาน ให้เป็นการดำเนินงานปกติ
เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมในด้านการสร้างความเข้าใจในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. เพื่อใช้ในหลักสูตรฯ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เข้าฝึกอบรมเกณฑ์ AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 มาใช่ในการจัดทำรายงานประเมินตนเองของ หรือเข้ารับการอบรมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. เพื่อใช้ในหลักสูตรฯ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทนหลักสูตร
KPI 1 : อาจารย์ที่เข้ารับการฝึกอบรมเกณฑ์ Guide to AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 และนำมาประปฏิบัติจริง หรือเข้ารับการอบรมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. เพื่อใช้ในหลักสูตรฯ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 2 1 คน 5
KPI 2 : การดำเนินโครงการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : การเบิกจ่ายเป็นไปตามแผนที่กำหนด
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : หลักสูตรฯ ที่เข้ารับการฝึกอบรมเกณฑ์ AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 หรือเข้ารับการอบรมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. เพื่อใช้ในหลักสูตรฯ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 2 1 หลักสูตร 5
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เข้าฝึกอบรมเกณฑ์ AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 มาใช่ในการจัดทำรายงานประเมินตนเองของ หรือเข้ารับการอบรมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. เพื่อใช้ในหลักสูตรฯ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทนหลักสูตร
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกอบรมเกณฑ์ AUN-QA Assessment at Programme Level Version 4.0 หรือเข้ารับการอบรมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. เพื่อใช้ในหลักสูตรฯ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 11/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางเพ็ญศิริ  หน่อแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.อัญชลี  สายเขียว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม (ค่าลงทะเบียน , ค่าที่พัก , ค่าพาหนะ , ค่าเบี้ยเลี้ยง)
ค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมการอบรม จำนวน 5 หลักสูตรๆละ 5,000 บาท
- หลักสูตรฯ วิศวกรรมพลังงาน ( 4 ปี) จำนวน 5,000 บาท
- หลักสูตรฯ วิศวกรรมการอนุรักษ์พลังงานฯ (2ปี) จำนวน 5,000 บาท
- หลักสูตรฯ วิศวกรรมฟาร์มอัจฉริยะฯ (2 ปี) จำนวน 5,000 บาท
- หลักสูตรฯ วิศวกรรมมพลังงาน (ป.โท, ป.เอก) จำนวน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,000.00 บาท 5,000.00 บาท 10,000.00 บาท 5,000.00 บาท 25,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล