19123 : โครงการการรวบรวมและศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกพื้นเมือง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.จันทร์เพ็ญ สะระ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/1/2566 15:46:30
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษา ประชาชนที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินประจำปี 2565 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ (การรวบรวมและศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกพื้นเมือง) 2566 185,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร
น.ส. จันทร์เพ็ญ  สะระ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 66 AP เป็นศูนย์กลางการศึกษาวิจัยด้านเกษตรอินทรีย์ของประเทศ (Organic Education Hub)
ตัวชี้วัด 1.3 66 AP ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
กลยุทธ์ 66 AP 1.2.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
กลยุทธ์ 66 AP 1.2.2 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University Strategy)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พริกมีชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum spp. เป็นพืชผักชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอันดับต้น และมีความสำคัญในชีวิตประจำวันของคนไทยเป็นอย่างมาก สามารถนำมาใช้ในการบริโภคได้ทั้งผลสดและแปรรูป ซึ่งประเทศไทยมีพื้นที่การปลูกประมาณ 167,443 ไร่ ได้ผลผลิตรวม 283,515 ตัน ในปัจจุบันการเพาะปลูกพริกเป็นการค้าเกษตรกรได้หันมาปลูกพันธุ์พริกลูกผสมที่ได้มาจากการปรับปรุงพันธุ์ของบริษัทเนื่องจากให้ผลผลิตที่สูงและสม่ำเสมอ ประกอบกับนโยบายของแต่ละบริษัทที่มีเจ้าหน้าที่ออกมาส่งเสริมให้เกษตรกรใช้พันธุ์ที่ปลูกเพื่อการค้า ทำให้มีแนวโน้มว่าพันธุ์พริกพื้นเมืองมีความนิยมปลูกน้อยลงซึ่งเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และการสูญเสียความหลากหลายทางพันธุกรรม ดังนั้นโครงการวิจัยนี้มีวัตุประสงค์เพื่อเก็บรวมรวมและคัดเลือกพันธุ์พริกพื้นเมืองในภาคเหนือ และศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล เนื่องจากลักษณะทางสัณฐานวิทยามักผันแปรไปตามสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดความผิดพลาดในการแยกความแตกต่างของสายพันธุได้ นอกจากนี้การเปรียบเทียบลักษณะภายนอก ยังไม่สามารถจำแนกความแตกต่างของสายพันธุพืชที่มีความใกลชิดทางพันธุกรรมได้ จึงจำเป็นต้องมีการตรวจสอบความความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมโดยการตรวจสอบในระดับจีโนไทป์ เพราะมีความถูกต้องแม่นยำ เนื่องจากอิทธิพลของสภาพแวดล้อมไม่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ยังสามารถตรวจสอบได้ตั้งแต่ระยะต้นกล้า และการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมยังสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการปรับปรุงพันธุ์พริกต่อไปในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อคัดเลือกพันธุ์พริกพื้นเมืองสำหรับส่งพันธุ์กลับไปยังแหล่งปลูกให้เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองเพื่อรักษาพันธุ์พืชพื้นเมืองต่อไป
เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกพื้นเมือง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พันธุกรรมพริกพื้นเมือง
KPI 1 : พันธุ์พริกพื้นเมืองที่คัดเลือกได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 พันธุ์ 3
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.185 ล้านบาท 0.185
KPI 3 : องค์ความรู้ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกพื้นเมือง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 4 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 5 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พันธุกรรมพริกพื้นเมือง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การคัดเลือกพันธุ์พริกพื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ขุยมะพร้าว ขี้เถ้าแกลบ มูลวัว ดินดำ แกลบดิบ เป็นต้น เป็นเงิน 109,450 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 109,450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 109,450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ปากกา แฟ้ม ยางลบ กาว เป็นต้น เป็นเงิน 5,550 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,550.00 บาท 0.00 บาท 5,550.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 115000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกพื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น อะกาโรสเจล ทิป หลอดทดลอง ไพรเมอร์ เป็นต้น เป็นเงิน 70,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 70,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
เป็นแหล่งเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ของสาขาที่เกี่ยวข้องทางด้านพืชสวนและสาขาอื่นๆ ได้แก่ รายวิชา 1. พส 452 เทคโนโลยีการผลิตผัก (50 คน) 2. พส 291 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 1 (60 คน) 3 .พส 292 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 2 (60 คน) 4. พส 393 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 3 (60 คน) 5. พส 394 การปฏิบัติงานฟาร์มพืชสวน 4 (60 คน)
ช่วงเวลา : 01/12/2565 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล