19119 : โครงการการรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพร เพื่อการอนุรักษ์และแหล่งเรียนรู้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
น.ส.นิศานาถ มิตตะกัง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/12/2565 15:22:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  140  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป เป็นผู้เข้าเยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้ 120 คน และ ผู้เช้าร่วมอบรม 20 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบบริการวิชาการ 2566 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. วัชราภรณ์  สุขขี
น.ส. จีระนันท์  ตาคำ
น.ส. นงลักษ์  ชูพันธ์
นาย บุญตัน  สุเทพ
น.ส. สุรีย์ชล  วงศ์ประสิทธิ์
น.ส. นิศานาถ  มิตตะกัง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. จุฑามาศ  พิลาดี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ 66 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 66 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.19 66 AP องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ 66 AP 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการและพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศแก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้รับแนวพระราชดำริ ให้อนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้ไทย ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อคราวเสร็จพระราชทานปริญญาบัตรแก่ บัณฑิต เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535 และทรงเปิดอุทยานกล้วยไม้ไทยที่สถาบันฯ จัดทำขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติเนื่องในวโรกาส ที่ทรงมีพระชนมายุ 36 พรรษา จากความเป็นมาดังกล่าว ทำให้มีแนวคิดในการรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพร เพื่อการอนุรักษ์และเป็นแหล่งเรียนรู้ขึ้น เพื่อลดการนำกล้วยไม้ไทยออกมาจากป่า ลดการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งยังสามารถเป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์และแหล่งเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนนักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้รู้จักกล้วยไม้ไทยมากยิ่งขึ้น และยังสามารถนำองค์ความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการปลูกเลี้ยง ถ่ายทอดสู่ กลุ่มเกษตรกรเครือข่ายด้านกล้วยไม้และสมาคม ชมรมกล้วยไม้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ให้ได้รับความรู้เพื่อนำไปพัฒนาสู่การปลูกเลี้ยงเพื่อการจำหน่ายได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้อนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้ไทย เมื่อคราวเสร็จพระราชทานปริญญาบัตรแก่ บัณฑิต เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535
เพื่อรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพรโดยด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
เพื่อปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สมุนไพรให้เป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์เพื่อการอนุรักษ์และแหล่งเรียนรู้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพร
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : จำนวนแหล่งเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 5 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้นจากการให้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 8 : จำนวนสายพันธุ์กล้วยไม้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 สายพันธุ์ 4
KPI 9 : จำนวนชนิดกล้วยไม้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ชนิด 5
KPI 10 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 11 : จำนวนต้นกล้วยไม้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1500 ต้น 1500
KPI 12 : จำนวนผู้เยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การรวบรวมและขยายพันธุ์กล้วยไม้สมุนไพร
ชื่อกิจกรรม :
การขยายพันธุ์และการดูแลรักษากล้วยไม้สมุนไพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.วัชราภรณ์  สุขขี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุรีย์ชล  วงศ์ประสิทธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.จีระนันท์  ตาคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายบุญตัน  สุเทพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิศานาถ  มิตตะกัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นงลักษ์  ชูพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาขยายพันธุ์โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการอนุบาลต้นอ่อน จ้างเหมา 1 คน จำนวน 35 วันๆ ละ 325 บาท เป็นเงิน 11,375 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,375.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,375.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 27,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 27,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,625.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,625.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ต้นกล้ามีการปนเปื้อนเชื้อโรคในห้องปฏิบัติการ, ต้นกล้ามีเปอร์เซ็นต์การรอดตายต่ำ หลังการปลูกเลี้ยง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
รักษาความสะอาดในห้องปฏิบัติการและต้องใส่ใจในการดูแลรักษาต้นกล้า อย่างเคร่งครัด
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 (วัชราภรณ์).pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล