19042 : โครงการ "การใช้สารสกัดใบเสม็ดร่วมกับสารสกัดสมุนไพรไทยเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ครีมสมุนไพร"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
อาจารย์พัชรินทร์ วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 5/11/2565 15:14:23
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/11/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  นักศึกษา เยาวชน เกษตรกร บุคลากร และบุคคลทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 2566 104,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วชิระ  ชุ่มมงคล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.11 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 3.1.16 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) และ SCD Ranking
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.66 : 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.66 : 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจและมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.66:3.1.9 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking
กลยุทธ์ มจ.ชพ.66 : 60. ผลัักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ต้นเสม็ดขาว หรือ Cajuput tree (Melaleuca cajeputi) และเสม็ดแดง (Syzygium gratum) พืชในวงศ์ (Myrtaceace) พืชทั้ง 2 ชนิดพบได้ทั่วไปในพื้นที่ภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศไทย จากการสำรวจพื้นที่ใกล้เคียงป่าอนุรักษ์พันธุกรรมพืชของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร พบว่ามีพืชทั้ง 2 ชนิดนี้ในปริมาณมากพอสมควร เนื่องจากเป็นไม้พื้นเมือง หรือจะเรียกอีกอย่างว่าสมุนไพรป่าชายหาด ที่มีการนำมาใช้ประโยชน์หลากหลาย ตัวอย่างเช่นการใช้ประโยชน์ใบเสม็ดขาว ส่วนของน้ำมันเขียวหรือ cajuputi oil ที่ได้จากการนำใบสดของต้นเสม็ดขาวมากลั่นน้ำมันหอมระเหยด้วยน้ำ นำมาใช้ประโยชน์ทางยาและเครื่องสำอาง เนื่องจากน้ำมันหอมระเหยจากใบของต้นเสม็ดขาวมีสรรพคุณ เช่น ยาทารักษาโรคทางผิวหนัง รักษาสิว แก้ไอ แก้หวัด ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียได้ เมื่อใช้กับผิวไม่ก่อให้เกิดการระคายเคือง และจากการศึกษาทดสอบผลของใบเสม็ดขาวเมื่อปี 2559 พบว่าสารสำคัญในใบเสม็ดขาวมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ Streptococcus mutans และเชื้อ Candida albicans โดยวิธี MIC จึงนำมาสู่การพัฒนาเป็นน้ำยาบ้วนปากที่มีส่วนผสมของสารสกัดใบเสม็ดขาว ภายใต้โครงการสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากใบเสม็ดเพื่อเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ประจำปีงบประมาณ 2563 และจากการศึกษาในโครงการนี้ ได้ศึกษาทดสอบคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH ของสารสกัด 95% เอทานอลของใบเสม็ดขาวและใบเสม็ดแดง พบว่าสารสกัดจากใบเสม็ดทั้ง 2 ชนิดมีฤทธิ์ในการต้านออกซิเดชั่น สารสกัดสมุนไพรที่มีการนำมาใช้เพื่อเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ที่น่าสนใจเช่นสารสกัดใบย่านางและสารสกัดจากใบบัวบก เนื่องจากมีส่วนช่วยในการ ฟื้นฟูผิว ลดเลือนริ้วรอย ลดผื่นคัน เสริมสร้างและกระตุ้นการสร้างคอลลาเจนและอีลาสติน มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยต่อต้านการเสื่อมของเซลล์ต่าง ๆ และช่วยระงับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดหนอง สารสกัดจากสมุนไพรประกอบด้วยสารสำคัญซึ่งอาจจะเหมือนหรือคล้ายกับสารเคมีสังเคราะห์ที่เติมลงในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง การนำสมุนไพรมาใช้ในเครื่องสำอางอาจจะอยู่ในรูปแบบของสารสกัด พืชสด บดแห้ง หรือน้ำมันหอมระเหย แต่ไม่ควรก่อให้เกิดอันตรายต่อผิวหนัง จากการศึกษาข้อมูลการใช้สมุนไพรในเครื่องสำอาง ตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2535 มาตรา 4 พืชเสม็ดแดง เสม็ดขาว ใบย่างนาง และใบบัวบก เป็นพืชในวงศ์ที่ไม่กระตุ้นให้เกิดการแพ้ต่อผิวหนัง จึงเป็นสารสกัดสมุนไพรที่น่าสนใจในการนำมาเป็นส่วนผสมในครีมสมุนไพรร่วมกับสารสกัดจากใบเสม็ด ดังนั้นในงานนี้จึงมุ่งเน้นการนำสารสกัดจากใบเสม็ดซึ่งสกัดด้วยกรรมวิธีทางด้านเคมีและสารสกัดสมุนไพรไทยที่มีสรรพคุณในการถนอมและบำรุงผิวมาใช้ในการพัฒนาสมุนไพรที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากสมุนไพรเสม็ดและสมุนไพรไทยบางชนิด ที่ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง เพื่อเป็นการต่อยอดการนำสกัดจากพืชสมุนไพรมาใช้ในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สมุนไพรในท้องถิ่นให้คงอยู่ยาวนานต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
พัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบเสม็ดและสมุนไพรไทยบางชนิด
ได้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากใบเสม็ดอย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมจากใบเสม็ด อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.104 ล้านบาท 0.104
KPI 6 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมจากใบเสม็ด อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์
ชื่อกิจกรรม :
1.ทำสารสกัดและผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/11/2565 - 29/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ เตรียมตัวอย่าง พืช บดพืช ทำแห้ง เก็บพืชสด จำนวน 1 งาน ๆ ละ 13,000 บาท เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
13,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเดินทางไปปฏิบัติงาน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการ วิเคราะห์ตัวอย่าง จำนวน 1 งาน ๆ ละ 9,000 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการออกแบบบรรจุภัณฑ์และผลิตบรรจุภัณฑ์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 12,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน เป็นเงิน 6,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 3,000.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 6,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เป็นเงิน 11,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,000.00 บาท 5,000.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ตัวทำละลายอินทรีย์ กระดาษกรอง หน้ากากพร้อมตัวกรอง ถุงมือยาง ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ตะกร้าพลาสติก กระดาษชำระ น้ำยาทำความสะอาด ฟลอยด์ ฯลฯ เป็นเงิน 5,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ซองเอกสาร ปากกา กระดาษA4 เทปกาว แฟ้มใส่เอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 89100.00
ชื่อกิจกรรม :
2.จัดกิจกรรมอบรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/07/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการทำป้ายไวนิล จำนวน 1 งาน ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำรูปเล่มรายงานโครงการ เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 22 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 3,520 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,520.00 บาท 3,520.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 22 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,080 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,080.00 บาท 3,080.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 4 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 2 ชม. ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การเก็บใบเสม็ดขาว เก็บได้เป็นช่วงๆ เนื่องจากฝนตกบ่อย/ การเข้าชุมชมจะต้องเป็นวันรวมกลุ่มของชุมชนเท่านั้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานผู้รับเหมาเก็บใบเสม็ดล่วงหน้า และใบสดอาจต้องมีการปรับตามสถานการณ์อีกครั้ง/ ประสานงานกับผู้นำชุมชนหรือตัวแทนกลุ่มให้ช่วยประสานงานล่วงหน้า
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การปลูก ขยายพันธุ์ การเก็บเกี่ยว การนำมาสกัด เทคนิคการสกัด สารสำคัญที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพหรือกายกาพอื่นๆ และการอนุรักษ์
ช่วงเวลา : 16/01/2566 - 30/09/2566
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล