18855 : การพัฒนาธุรกิจจำลองเพื่อผู้ประกอบการค้าปลีกรุ่นเยาว์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2566
นางนพนิตย์ วงศ์สุ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
27/01/2566  ถึง  28/02/2566
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  140  คน
รายละเอียด  บุคลากรและนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชานวัตกรรมธุรกิจค้าปลีก
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะบริหารธุรกิจ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2566 20,500.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะบริหารธุรกิจ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2566 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.17 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างความเป็นผู้ประกอบการ เช่นการสร้าง Learning Space และ Working Space เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA66-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ BA66-G-7 นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด BA66-KPI-13 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ BA66-S-22 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกรและการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิดสำนึกที่ดีแก่นักศึกษาและภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ BA66-G-8 นักศึกษามีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการอย่างมืออาชีพ
ตัวชี้วัด BA66-KPI-14 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ BA66-S-25 ส่งเสริมการให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
[2566] ประเด็นยุทธศาสตร์ BA66-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ BA66-G-21 มหาวิทยาด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด BA66-KPI-39 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ BA66-S-61 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ ใช้สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจะส่งผลต่อวิถีการใช้ชีวิตของทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงต้องมีการสร้างและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษามีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 และสิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) อันจะเป็นสิ่งที่ส่งผลให้มีเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมทั้งทางกว้างและทางลึก การจัดการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 นี้ เน้นในเรื่องของการมีความรู้ ความสามารถ และทักษะจำเป็น จากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ รวมถึงกิจกรรมต่างๆที่จะช่วยเพิ่มพูนและพัฒนาทักษะที่จำเป็นให้แก่นักศึกษาอีกด้วย ทักษะการเรียนรู้ที่ต้องการในศตวรรษที่ 21 จึงประกอบไปด้วยความรู้และทักษะในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) 2. ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 3. ความรู้ด้านการเป็นพลเมือง (Civic Literacy) 4. ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 5. ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) และจากการที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurs) ที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงโดยเน้นทางด้านการเกษตร วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่นและสังคมของประเทศ สอดคล้องกับพันธกิจของคณะบริหารธุรกิจ ที่มุ่งจะผลิตบัณฑิตทางด้านบริหารธุรกิจและธุรกิจเกษตรที่มีศักยภาพ รวมทั้งมีความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการอย่างมืออาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมและบุคลิกภาพ โดยผ่านกระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ดังนั้น โครงการนี้จึงถูกจัดขึ้นเพื่อให้ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ คณะบริหารธุรกิจได้รับการพัฒนาทักษะความเป็นผู้ประกอบการด้านการค้าปลีก โดยผ่านการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการทำธุรกิจจริงหรือเรียกว่า บริษัทจำลอง ซึ่งทักษะและผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น เพื่อบ่มเพาะนักศึกษาสู่การเป็นบัณฑิตที่พร้อมในการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างธุรกิจค้าปลีกจำลองเพื่อสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพการค้าปลีกสมัยใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะด้านธุรกิจ การสร้างความได้ในการทำธุรกิจจำลองและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สู่การผู้ประกอบการค้าปลีกรุ่นเยาว์
KPI 1 : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
140 คน 140
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะด้านธุรกิจ การสร้างความได้ในการทำธุรกิจจำลองและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สู่การผู้ประกอบการค้าปลีกรุ่นเยาว์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะด้านธุรกิจ การสร้างความได้ในการทำธุรกิจจำลองและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สู่การผู้ประกอบการค้าปลีกรุ่นเยาว์
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาธุรกิจจำลองเพื่อผู้ประกอบการค้าปลีกรุ่นเยาว์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/01/2566 - 28/02/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัญญ์พัสวี  กล่อมธงเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภัสสร  วรรณสถิตย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์โสภณ  ฟองเพชร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 140 คนๆละ 70 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 9,800 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 140 คนๆละ 25 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 13,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล