18698 : การผลิตกัญชาอินทรีย์ทางการแพทย์เชิงอุตสาหกรรม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวปิยวรรณ พันโสดา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/9/2565 14:48:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/08/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  1. ผู้เรียนที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือระดับ ปวส. 2. นิสิต/นักศึกษา 3. บุคคลทั่วไป 4. ผู้ที่ทํางานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 5. ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้ว 6. อื่นๆ โปรดระบุ ผู้ประกอบการธุรการกิจด้านการเกษตร
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยนานาชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากการลงทะเบียนฝึกอบรม จำนวน 30 คน คนละ 10,000 บาท ทั้งหมด 2 กิจกรรม จากวิทยาลัยนานาชาติ 2565 600,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นางสาว ปิยวรรณ  พันโสดา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ศาสตราจารย์ ดร. อานัฐ  ตันโช
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.2 มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์อินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง (Organic farm & fruit)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.5 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์กัญชงกัญชาคุณภาพสูง
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.2.4 ส่งเสริมการผลิตกัญชาและกัญชงเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันกัญชาเป็นพืชเศรษฐกิจตัวใหม่ และกำลังเป็นที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในวงการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทย เพื่อผลิตเป็นน้ำมันกัญชา และสมุนไพรประกอบอาหารและเครื่องดื่ม เพื่อใช้ในทางการแพทย์ เนื่องจากกัญชามีสารเคมีต่าง ๆ มากกว่า 483 ชนิด เป็นสารในกลุ่ม cannabinoids มากถึง 65 ชนิด ที่สำคัญ คือ delta-9-tetrahydrocannabinol (THC) และ cannabidiol (CBD) ทั้งนี้ประเทศไทยมีความหลากหลายของสายพันธุ์กัญชาสูง ผนวกกับกัญชาไทยได้มีการปรับตัวให้สอดคล้องกับภูมิประเทศของประเทศไทย อีกทั้งรัฐบาลยังมีนโยบายให้ประชาชนสามารถปลูกกัญชาไว้ในครัวเรือนเพื่อใช้เป็นสมุนไพร ทั้งยังสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในด้านการพัฒนาเกษตรกัญชาอินทรีย์ของประเทศไทยทําให้สามารถแข่งขันอย่างยั่งยืนในเวทีการค้าโลก ตลอดจนสร้างโอกาสการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางด้านการจัดการเกษตรอินทรีย์ของโลกในอนาคต นอกจากนี้ในทางกฎหมายสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ผลักดันการออกร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ จนสุดท้ายได้ประกาศเป็นกฎหมายในพระราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2562 เป็นผลทำให้มีการพัฒนาพืชกัญชานำมาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพืชกัญชาสายพันธุ์ท้องถิ่นเป็นที่รู้จักในตลาดโลก และยังมีความพร้อมในด้านการปฏิบัติจริง เนื่องจากมีโรงผลิตพืชกัญชาอินทรีย์ได้รับการรับรอง USDA ซึ่งมีพื้นที่ในการปลูกในระบบปิด (indoor) ได้ 12,000 ต้น และระบบเปิด (outdoor) จำนวน 4,700 ต้น ต่อรอบการปลูก และสามารถปลูกได้ 50,100 ต้นต่อปี มีอุปกรณ์สำหรับจ่ายน้ำและปุ๋ย และห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชและสารตกค้างต่าง ๆ อย่างครบวงจรและยังมีโรงงานผลิตปัจจัยการผลิตธาตุอาหารพืช และสารชีวภัณฑ์ที่ได้รับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เช่น ผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจากขยะอินทรีย์ด้วยไส้เดือนดินซึ่งเป็นปุ๋ยที่มีคุณสมบัติด้านธาตุอาหารพืชอินทรียวัตถุและจุลินทรีย์ที่สำคัญต่อการปรับปรุงดินสูง การผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรซึ่งสามารถผลิตธาตุอาหารพืชเชิงเดี่ยวที่มีธาตุอาหารแต่ละธาตุในความเข้มข้นสูง และการผลิตปุ๋ยหมักที่มีธาตุอาหารพืชและอินทรียวัตถุสูงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรตามมาตรฐานของสมาพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (IFOAM) ดังนั้นสาขาวิชาการจัดการเกษตรอินทรีย์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงเล็งเห็นว่าการเปิดหลักสูตรดังกล่าว สามารถผลิตบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถออกไปประกอบอาชีพได้หลากหลาย จากความรู้ด้านวิชาการและทักษะด้านการผลิตพืชกัญชา ในระดับต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ เข้าใจ ในระบบปลูกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดีและปลอดภัยตามมาตรฐานที่กำหนด อุดมด้วยคุณค่าทางอาหารและปลอดสารพิษ แนวทางการลดต้นทุนการผลิต กระบวนการสกัดสารสำคัญ การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ในระบบ SMEs และอุตสาหกรรมกัญชาอินทรีย์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ และการผลิตกัญชาในระดับอุตสาหกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์รวมทั้งเข้าใจถึงหลักการบริหารจัดการปัจจัยการผลิตในระดับอุตสาหกรรมอินทรีย์ในระดับอาเซียน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักบริหารการจัดการศัตรูพืช การจัดการแมลงศัตรูพืช ในการปลูกกัญชาอินทรีย์ระบบปิและระบบเปิด รวมถึงการใช้ตัวควบคุมโดยชีววิธี ชีวภัณฑ์ และสารสำคัญ สำหรับป้องกันกำจัดศัตรูกัญชาในระบบอินทรีย์ระดับอุตสาหกรรม
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ในการควบคุมโรคเพื่อการเกษตร การใช้เชื้อราอาบัสคูลาร์ไมคอร์ไรซ่าและการใช้เชื้อไตรโครเดอร์มาสำหรับการปลูกพืช การจัดการธาตุอาหารและภูมิอากาศท้องถิ่นสำหรับกัญชาภายใต้ระบบเปิดและระบบปิดสำหรับการผลิตและการประยุกต์ใช้ในพืชกัญชาและกัญชง
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะความชำนาญเชิงปฏิบัติการด้านการผลิตกัญชา สามารถประกอบอาชีพ ด้านการเกษตรได้อย่างมีมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ และกระบวนการของสาขาวิชา จำนวน 30 คน
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ และกระบวนการของกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมจบตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ รุ่นละ 30 คน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ และกระบวนการของสาขาวิชา จำนวน 30 คน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การสร้างปัจจัยการผลิตสำหรับกัญชาทางการแพทย์ในระบบเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสาวปิยวรรณ  พันโสดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ณิชนิตา  นามวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน คนละ 120 บาท 2 มื้อ จำนวน 30 คน รวมเป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คนละ 35 บาท 4 มื้อ จำนวน 30 คน รวมเป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำ มันเชื้อเพลิง 2 วันๆ ละ 2,500 บาท รวมเป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติหน้าที่นอกวันและเวลาทำการ 8 คน จำนวน 2 วัน ๆ ละ 300 บาท รวม
เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมานักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน (ปริญญาตรี) 2 วัน จำนวน 2 คน ๆ ละ 200 บาท รวมเป็นเงิน 800
บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าบำรุงสถานที่สำหรับใช้เรียนและใช้จัดกิจกรรมอื่นๆ จำนวน 1 ห้องต่อวัน ๆ ละ 3,000 บาท จำนวน 2 วัน รวมเป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำ เอกสารประกอบการเรียนตลอดกิจกรรม รวมเป็นเงิน 25,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,500.00 บาท 25,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าสมนาคุณวิทยากร
ภาคบรรยาย
ค่าวิทยากร จำ นวน 1 คน ๆ ละ 600 บาทต่อชั่วโมง
จำนวน 24 ชั่วโมง รวมเป็นเงิน 14,400 บาท
ภาคปฏิบัติ
ค่าวิทยากร จำ นวน 1 คน ๆ ละ 300 บาทต่อชั่วโมง
จำนวน 16 ชั่วโมง รวมเป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท 19,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุสำนักงานตลอดกิจกรรม รวมเป็นเงิน 67,300
บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 67,300.00 บาท 67,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตรตลอดกิจกรรม รวมเป็นเงิน 84,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 84,000.00 บาท 84,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ตลอดกิจกรรม
รวมเป็นเงิน 76,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 76,000.00 บาท 76,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 300000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การจัดการศัตรูพืชในระบบการผลิตระดับอุตสาหกรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/08/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสาวปิยวรรณ  พันโสดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ณิชนิตา  นามวงค์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน คนละ 120 บาท 3 มื้อ จำนวน 30 คน รวมเป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คนละ 35 บาท 6 มื้อ จำนวน 30 คน รวมเป็นเงิน 6,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำ มันเชื้อเพลิง 3 วันๆ ละ
2,500 บาท รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติหน้าที่นอกวันและเวลาทำการ 6 คน จำนวน 3 วัน ๆ ละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 5,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมานักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน (ปริญญาตรี) 3 วัน จำนวน 2 คน ๆ ละ 200 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าบำรุงสถานที่สำหรับใช้เรียนและใช้จัดกิจกรรมอื่นๆ จำนวน 1 ห้องต่อวัน ๆ ละ 3,000 บาท จำนวน 3 วัน รวมเป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำ เอกสารประกอบการเรียนตลอดกิจกรรม รวมเป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าสมนาคุณวิทยากร
ภาคบรรยาย
ค่าวิทยากร จำนวน 3 คน ๆ ละ 600 บาทต่อชั่วโมง
จำนวน 8 ชั่วโมง รวมเป็นเงิน 14,400 บาท
ภาคปฏิบัติ
ค่าวิทยากร จำนวน 3 คน ๆ ละ 300 บาทต่อชั่วโมง
จำนวน 8 ชั่วโมง รวมเป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 21,600.00 บาท 21,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุสำนักงานตลอดกิจกรรม รวมเป็นเงิน 65,600
บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 65,600.00 บาท 65,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตรตลอดกิจกรรม รวมเป็นเงิน 76,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 76,600.00 บาท 76,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ตลอดกิจกรรมรวมเป็นเงิน 66,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 66,000.00 บาท 66,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 300000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล