18593 : โครงการ Good Health Strong Heart @ MJU : ชาวแม่โจ้งามสง่า สุขภาพกายาดี ใจแกร่ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางรัตนา กันตีโรจน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/7/2565 13:59:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
27/07/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  บุคลาการภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2565 1,200.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วรรณภา  พิพัฒน์ธนวงศ์
อาจารย์ อมรเลิศ  พันธ์วัตร์
อาจารย์ สุรัช  สุนันตา
อาจารย์ เจนนารา  วงศ์ปาลี
อาจารย์ วารุณี  ผ่องแผ้ว
อาจารย์ สุทธิลักษณ์  จันทะวัง
อาจารย์ เบญจมาศ  ถาดแสง
อาจารย์ บุษกร  ยอดทราย
อาจารย์ ดร. ปิยะพันธุ์  นันตา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.24 จำนวนกิจกรรมด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่หน่วยงานภายนอก
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 2.1.1 จำนวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี (ม.2.1)
กลยุทธ์ พยบ-2.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การมีสุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ ประกอบด้วยการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย การพักผ่อนที่เพียงพอ การป้องกันโรค เป็นตัน รวมทั้ง การใช้ลีลาชีวิต (Life Style) ที่ถูกต้อง ไม่ทำลายสุขภาพของตนเองทั้งระยะสั้นและระยะยาว การเจ็บป่วยหลายโรคสามารถป้องกันได้ด้วยการส่งเสริมสุขภาพ บุคคลที่มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงย่อมทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่างๆ ช่วยเสริมให้สุขภาพดี การมีสุขภาวะที่ดี มีสุขภาพกายและใจที่แข็งแรง สามารถป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้หลายโรค เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเส้นเลือด เป็นต้น คณะพยาบาลศาสตร์ ในบทบาทผู้นำด้านสุขภาพร่วมกับกองสวัสดิการ กองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพเบื้องต้นด้วยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ แก่คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ตลอดจนประชาชนทั่วไปที่สนใจ จึงได้จัดโครงการ Good Health Strong Heart @ MJU : ชาวแม่โจ้งามสง่า สุขภาพกายาดี ใจแกร่ง ด้วยการเต้นซุมบ้า เป็นกิจกรรมที่มีการขยับลำตัวแขนขา บริหารสมอง เพิ่มสมรรถนะกายใจให้แข็งแรง เสริมบุคลิกภาพให้สง่างาม นอกจากนี้ยัง เพราะถ้าทุกคนการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ยังมีส่วนช่วยลดเอว ลดพุง ซึ่งเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆได้อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพอีกด้วยด้วย ตามยุทธศาสตร์แผนการบริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 4 ปี (2563-2566) มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจ (MOC) 2.5 ด้านบริการวิชาการการสร้างและพัฒนาชุมชนเป้าหมายด้านบริการวิชาการ แสวงหาเครือข่ายความร่วมมือ สร้างความสำเร็จโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม เป้าประสงค์ที่ 2.3 การบริการวิชาการเพื่อสังคม เป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยนั้น สอดคล้องกับคณะพยาบาลศาสตร์ ที่มีแผนบริการวิชาการ คือการมุ่งเน้นการให้บริการทางวิชาการด้านสุขภาพทุกช่วงวัย ในด้านการให้บริการทางวิชาการเพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของสังคมด้วยการให้ความรู้ทางสุขภาพ การส่งเสริมการนำความรู้ของทางวิชาการไปสร้างประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและองค์กรภายนอกมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังสามารถบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย โดยส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างภูมิคุ้มกันต้านทานโรคที่ป้องกันได้ รวมทั้งได้เครือข่ายการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น นับเป็นจุดริเริ่มของการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีในมหาวิทยาลัย และการร่วมสร้างประโยชน์เพื่อสังคมและท้องถิ่น ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. มีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพสร้างภูมิคุ้มกันที่ถูกต้องและเหมาะสม
2. ได้รับการส่งเสริมสุขภาพมีสมรรถนะกายใจแข็งแรงไม่เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้เพิ่มขึ้น
3. ได้เครือข่ายกัลยาณมิตรแนวร่วมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทั้งในและนอกหน่วยงานเพิ่มขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ด้านการออกกำลังเพื่อสุขภาพ ด้วยการเต้นซูมบ้า อย่างถูกต้องและเหมาะสม
KPI 1 : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านการออกกำลังเพื่อสุขภาพ ด้วยการเต้นซูมบ้า อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ เพื่อเฝ้าระวังโรคที่สามารถป้องกันได้
KPI 1 : 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ เพื่อเฝ้าระวังโรคที่สามารถป้องกัน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : 3. ผู้เข้าร่วมโครงการได้เครือข่ายแนวร่วมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทั้งในและนอกหน่วยงาน
KPI 1 : 3. ผู้เข้าร่วมโครงการได้เครือข่ายแนวร่วมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทั้งในและนอกหน่วยงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 หน่วยงาน 2
ผลผลิต : 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
KPI 1 : 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.41 ค่าเฉลี่ย 3.41
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้ด้านการออกกำลังเพื่อสุขภาพ ด้วยการเต้นซูมบ้า อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ชื่อกิจกรรม :
จัดกิจกรรมเต้นซูมบ้า ออกกำลังกาย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/07/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1200.00
ผลผลิต : 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ เพื่อเฝ้าระวังโรคที่สามารถป้องกันได้
ผลผลิต : 3. ผู้เข้าร่วมโครงการได้เครือข่ายแนวร่วมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทั้งในและนอกหน่วยงาน
ผลผลิต : 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล