18508 : โครงการ “Green & Sustainability Design of Universal” การออกแบบสภาพแวดล้อมสีเขียว เพื่อความยั่งยืนสำหรับคนทุกคน (65-1.1.2)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/7/2565 17:28:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  250  คน
รายละเอียด  นักศึกษาและบุคลากรของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ และของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ศิษย์เก่า ชุมชน และหน่วยงานท้องถิ่น ประชาชน และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณสนับสนุนจากภายนอก 2565 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วุฒิกานต์  ปุระพรหม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธ์ศักดิ์  ภักดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พันธุ์ระวี  กองบุญเทียม
รองศาสตราจารย์ ศิริชัย  หงษ์วิทยากร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.1 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.1.1 การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1(64-68)-FAED การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 1.1 (64-68)-FAED การออกแบบวางผังสู่ Eco University ในรูปแบบ 3G : GREEN ROOF/ GREEN WALL/GARDEN
ตัวชี้วัด 1.1FAED65 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ FAED-1.1.1(64-68) การสนับสนุนด้านการออกแบบวางผังมหาวิทยาลัย เพื่อมุ่งสู่ Eco University และตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ FAED-1.1.2(65-68) การสร้างสรรค์สภาวะน่าสบาย(comfort zone)ในการออกแบบวางผังบริเวณการออกแบบอาคาร การออกแบบชุมชนเมืองและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม (RIS-AE) จัดตั้งเป็นศูนย์ภายใต้ส่วนงานของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีพันธกิจหลัก คือ เป็นศูนย์การเรียนรู้ แสดงนิทรรศการ และต้นแบบนวัตกรรมอาคารประหยัดพลังงานและสิ่งแวดล้อมระดับมหาวิทยาลัย ตลอดจนเป็นแหล่งบูรณาการณ์งานวิจัยแบบมีส่วนร่วมของคณาจารย์และนักศึกษาทุกสาขา และสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อเป็นศูนย์กลางและต้นแบบงานวิจัยและนวัตกรรม และให้บริการวิชาการด้านการออกแบบระหว่างบุคลากรคณะฯ ทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนเพื่อเพิ่มศักยภาพทางงานวิจัยแบบมีส่วนร่วม และเป็นศูนย์ในการติดต่อประสานงานวิจัยจากแหล่งทุนทั้งภายในและภายนอก ของคณาจารย์ บุคลากร บัณฑิต ชุมชน รวมทั้งจัดตั้งเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อให้ความรู้สำหรับบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยใช้ชื่อว่า “แหล่งเรียนรู้นวัตกรรม เพื่อความยั่งยืนทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม” ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม (RIS-AE) ได้ร่วมเป็นเครือข่ายศูนย์ออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน (Universal Design Center : UDC) โดยมีภาคีเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยทุกภูมิภาค ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้รับมอบหมายเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ “เครือข่ายศูนย์ออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน” และได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อการพัฒนาและปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ โดยมีระยะเวลาโครงการระหว่างวันที่ 5 พฤษภาคม 2564 - วันที่ 31 มกราคม 2566 ดังนั้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ จึงกำหนดจัดทำโครงการ “Green & Sustainability Design of Universal” การออกแบบสภาพแวดล้อมสีเขียว เพื่อความยั่งยืนสำหรับคนทุกคน เพื่อการพัฒนาและปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ พัฒนาและปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพแก่ชุมชน
เพื่อบูรณาการ และสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อเป็นการบริการวิชาการ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการจัด Green & Sustainability Design of Universal การออกแบบสภาพแวดล้อมสีเขียว เพื่อความยั่งยืนสำหรับคนทุกคน
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
250 คน 250
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการจัด Green & Sustainability Design of Universal การออกแบบสภาพแวดล้อมสีเขียว เพื่อความยั่งยืนสำหรับคนทุกคน
ชื่อกิจกรรม :
1.กิจกรรมการอบรมสัมมนา "สุขภาวะแวดล้อมเพื่อการออกกำลังกายแฝง สำหรับคนทุกวัย"
(ในวันที่ 11-10-64)
2.กิจกรรมการอบรมสัมมนา "สร้างผู้นำชุมชนผู้สูงอายุรุ่นใหม่" (ในวันที่ 13-6-65)
3.กิจกรรมการอบรมสัมมนา "มาตรฐานการออกแบบห้องน้ำเพื่อทุกคน" (ในวันที่ 22-7-65)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกานต์  ปุระพรหม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ไม่เบิกจ่ายงบประมาณ-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล