18445 : โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
น.ส.ประทีปชล ชัยเลิศ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/5/2566 15:47:17
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/03/2565  ถึง  30/09/2566
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  400  คน
รายละเอียด  1. บุคลากร นักศึกษา และบัณฑิตผู้ประกอบการ 320 คน 2. จำนวน High Quality Engineer 80 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ฝ่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และโครงการพิเศษ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ตามที่กระทรวงอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มีนโยบายดำเนินโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ปฏิรูปการบริหารงานและปรับเปลี่ยนหลักสูตรการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม สามารถผลิตบุคลากรคุณภาพสูง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ตามกำหนดการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาออกเป็น 4 กลุ่ม ตามจุดเน้นเชิงยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา 2565 11,000,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ  ไชยชนะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ฝ่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และโครงการพิเศษ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.1 จำนวนผลงานวิจัยที่ยื่นขอจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร/บัญชีนวัตกรรม/นวัตกรรมต้นแบบ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.1 สนับสนุนการวิจัยที่ได้รับมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ การวิจัยที่เป็นเลิศ และสิทธิบัตร
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ดำเนินการและปฏิบัติตามนโยบายรัฐบาล ตามพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 หมวด 3 ประเภทของสถาบันการศึกษา มาตรา 24 และ หมวด 6 การจัดสรรทรัพยากร มาตรา 43(3) มาตรา 24 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริม สนับสนุน ประเมินคุณภาพ กำกับดูแล และ จัดสรรงบประมาณให้แก่สถาบันอุดมศึกษา รัฐมนตรีจะประกาศกำหนดให้จัดสถาบันอุดมศึกษาเป็นกลุ่มได้ โดยคำนึงถึงจุดมุ่งหมาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ศักยภาพ และผลการดำเนินการที่ผ่านมาของสถาบัน อุดมศึกษาแต่ละกลุ่ม โดยต้องกำหนดมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ประเมินคุณภาพ กำกับดูแล และจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับการจัดกลุ่มดังกล่าวด้วย ในกรณีที่รัฐมนตรีประกาศให้สถาบันอุดมศึกษากลุ่มใดมีพันธกิจหลักในการให้การศึกษาอบรม ทักษะอาชีวะชั้นสูงเพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถาบันอุดมศึกษา กลุ่มนั้นย่อมได้รับความสนับสนุนเป็นพิเศษจากรัฐตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด มาตรา 43 (3) งบลงทุนและงบเงินอุดหนุนเพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา และการผลิตกำลังคนระดับสูงเฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ และเงินอุดหนุนจากกองทุน ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เพื่อใช้ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม ประเภทและกลุ่มของสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร มากว่า 85 ปี และมีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศด้านการเกษตรระดับนานาชาติ และในปีพ.ศ. 2577 ที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีอายุครบ 100 ปี มหาวิทยาลัยมีเป้าหมายที่จะเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิตที่มีความเชี่ยวชาญด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture) มีความพร้อมที่จะพัฒนาบุคลากรตลอดช่วงอายุ ตามนโยบายการผลิตกำลังคนของกระทรวงอุดมศึกษาให้มีมีความเชี่ยวชาญและชำนาญด้านเทคโนโลยีการเกษตรอัจฉริยะ และมีเครือข่ายผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมทั้งกลุ่มเกษตรกร มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีความเชี่ยวชาญพื้นฐานด้านเทคโนโลยีการเกษตร นวัตกรรมการเกษตร การเกษตรอัจฉริยะ รวมทั้งมีการจัดการเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจ การตลาด เศรษฐศาสตร์ สื่อดิจิทัล พลังงาน วิศวกรรม การเกษตรพื้นฐานทั้ง พืช สัตว์ ประมง การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ ซึ่งเป็นฐานในการพัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยกลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งมีความพร้อมพื้นฐานในด้านระบบนิเวศน์นวัตกรรม มหาวิทยาลัยมีการเตรียมความพร้อมเบื้องต้นเพื่อเสนอตัวมหาวิทยาลัยแม่โจ้อยู่ในมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 กลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยีลานวัตกรรม มีการเตรียมการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านด้านนวัตกรรมทางการเกษตรสำหรับบัณฑิตผู้ประกอบการ มีการศึกษา วิจัย ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านเกษตรอัจฉริยะ มีการเตรียมความพร้อมในการเปิดหลักสูตรด้านนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ และหลักสูตรผู้ประกอบการเกษตรนวัตกรรม ทั้งหลักสูตร Degree 4 ปี และ 2 ปี ต่อเนื่อง หลักสูตร non-degree ที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบ module และแบบ online โดยมีกลุ่มเป้าหมายสำหรับคนตลอดช่วงอายุวัยให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งหลักสูตรในการ Up skill, Re skill , New Skill บุคลากรในสถานประกอบการ และบัณฑิตใหม่ที่ยังไม่มีงานทำให้เข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ ในการนำไปเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานหรือสร้างธุรกิจใหม่ได้ การวิเคราะห์ความเชี่ยวชาญมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการผลักดันให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่นั้น มหาวิทยาลัยได้มีการวิเคราะห์องค์ความรู้และความเชี่ยวชาญเดิมของมหาวิทยาลัย พบว่ามหาวิทยาลัยมีความเชียวชาญด้านเทคโนโลยีการเกษตร ด้านการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรเป็นหลัก และเริ่มมีผลการดำเนินงานด้านนวัตกรรม แต่ยังไม่ถึงเป็นบัณฑิตผู้ประกอบการ มีเครือข่ายความร่วมมือทั้งภาครัฐและเอกชน ในการผลิตบัณฑิต ในการที่มหาวิยาลัยจะอยู่ในกลุ่มที่ 2 กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้น มหาวิทยาลัยได้มีการวิเคราะห์ความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรดังนี้ การวิเคราะห์ความเชี่ยวชาญมหาวิทยาลัยด้านการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้มีความเชี่ยวชาญพื้นฐานด้านเทคโนโลยีการเกษตร นวัตกรรมการเกษตร การเกษตรอัจฉริยะ รวมทั้งมีการจัดการเรียนการสอนด้านบริหารธุรกิจ การตลาด เศรษฐศาสตร์ สื่อดิจิทัล พลังงาน วิศวกรรม การเกษตรพื้นฐานทั้ง พืช สัตว์ ประมง การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ ซึ่งเป็นฐานในการพัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยกลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ได้ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง จากความสำคัญและที่มาของโครงการเบื้องต้นมหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงเสนอตัวการจัดกลุ่มมหาวิทยาลัย อยู่ในกลุ่ม 2 กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นการต่อยอดอาชีวะขั้นสูง ภายใต้กรอบแนวคิดและการวิเคราะห์นี้ มหาวิทยาลัยได้พัฒนา “โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่มหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่” โดยมีกระบวนการพลิกโฉมที่สำคัญ 3 กระบวนการ ตั้งแต่ 1) กระบวนการเตรียมความพร้อมสู่การพลิกโฉม 2) กระบวนการสร้างความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านเกษตรสมัยใหม่ และ 3) กระบวนถ่ายทอดสู่ชุมชนและสังคม เพื่อเสนอต่อกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยมีเป้าประสงค์ที่จะสร้างความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ ในปี พ.ศ. 2570

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่
เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้มีความพร้อมและศักยภาพสู่ในการเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2
เพื่อผลิตกำลังคนด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เพื่อตอบสนองการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve)
เพื่อพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการใหม่ นักศึกษา บัณฑิตผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ
เพื่อสร้างเครือข่ายในการต่อยอดด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ
เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผู้ประกอบการ/SMEs ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่เข้าสู่ตลาด
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การยกระดับการบริหารจัดการเพื่อพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2
KPI 1 : การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 ครั้ง 1
KPI 2 : การบริหารโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 1 หน่วยงาน 1
KPI 3 : การสนับสนุนการขับเคลื่อนเพื่อพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 ระดับคณะ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
19 19 คณะ/หน่วยงาน 19
ผลผลิต : การสร้างเครือข่ายด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ
KPI 1 : การประชุมความร่วมมือระดับนานาชาติ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 เครือข่าย 5
KPI 2 : การเสวนาแนวทางความร่วมมือและนำเสนอผลงานด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 เครือข่าย 5
KPI 3 : การจัดอบรมและแลกเปลี่ยนบุคลากรเครือข่ายนานาชาติด้านเทคโนโลยีและเกษตรเกษตรอัจฉริยะ : การประชุมวิชาการเครือข่ายนานาชาติ 2023 SAFE NETWORK
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 4 : การจัดอบรมและแลกเปลี่ยนบุคลากรเครือข่ายนานาชาติด้านเทคโนโลยีและเกษตรเกษตรอัจฉริยะ : การสัมมนาทางวิชาการ และการประกวดนวัตกรรมระดับนานาชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 5 : การจัดนิทรรศการและประกวดรางวัลด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 เครือข่าย 5
KPI 6 : การจัดงานประชุมวิชาการเครือข่ายนานาชาติ 2022 UNTA Annual Assemblyเรื่อง “Driving Economy for BCG Model: A Road to Sustainable Growth in High Value Products and Smart Agriculture”
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 เครือข่าย 10
ผลผลิต : การสรรหาผู้เชี่ยวชาญหรืออาจารย์พิเศษด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
KPI 1 : การแสวงหาผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่จากภายนอก
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 4 คน 4
ผลผลิต : การพัฒนาผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้าสู่ตลาด
KPI 1 : การยกระดับและเพิ่มกำลังการผลิตของผู้ประกอบการ Scale-up ที่ผ่านมาตรฐานและพร้อมวางจำหน่าย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 ผลิตภัณฑ์ 25
KPI 2 : การจัดทำ Catalog ผลิตภัณฑ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
300 เล่ม 300
ผลผลิต : การพัฒนาหลักสูตรด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
KPI 1 : การพัฒนาหลักสูตรด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 1 หลักสูตร 1
ผลผลิต : การพัฒนากำลังคน High Quality Engineer (หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมฟาร์มอัจฉริยะและนวัตกรรมเกษตร (ต่อเนื่อง)
KPI 1 : ทุนการศึกษา/พัฒนา/นวัตกรรม/อื่นๆ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ทุน 80
KPI 2 : ทุนการศึกษานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ทุน 10
KPI 3 : การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 คน 200
ผลผลิต : การพัฒนาและยกระดับด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมอัจฉริยะให้แก่บุคลากร นักศึกษา และบัณฑิตผู้ประกอบการ
KPI 1 : การจัดอบรม Module สำหรับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะด้านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต Short Course for Reskill Upskill/Module Credit bank/สัมฤทธิบัตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
160 160 คน 160
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การยกระดับการบริหารจัดการเพื่อพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2
ชื่อกิจกรรม :
การสนับสนุนการขับเคลื่อนเพื่อพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 ระดับคณะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอุดหนุน
1 คณะผลิตกรรมการเกษตร 91,500 บาท
2 คณะวิทยาศาสตร์ 167,000 บาท
3 คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร 158,000 บาท
4 คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ 138,000 บาท
5 คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี 116,000 บาท
6 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม 108,000 บาท
7 ฝ่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และโครงการพิเศษ 83,500 บาท
8 คณะเศรษฐศาสตร์ 38,000 บาท
9 คณะศิลปศาสตร์ 90,000 บาท
10 คณะบริหารธุรกิจ 55,000 บาท
11 คณะพัฒนาการท่องเที่ยว 115,000 บาท
12 คณะสารสนเทศและการสื่อสาร 18,500 บาท
13 วิทยาลัยบริหารศาสตร์ 75,000 บาท
14 วิทยาลัยนานาชาติ 75,500 บาท
15 แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 127,500 บาท
16 แม่โจ้-ชุมพร 56,000 บาท
17 คณะสัตวแพทย์ 5,000 บาท
18 คณะพยาบาลศาสตร์ 15,000 บาท
19 อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร 345,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,877,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,877,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1877500.00
ชื่อกิจกรรม :
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 200,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 200000.00
ชื่อกิจกรรม :
การบริหารโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/11/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน x 15 เดือน x 15,000 บาท เป็นเงิน 225,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน x 12 เดือน x 15,000 บาท เป็นเงิน 180,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 1 คน x 8 เดือน x 15,000 บาท 120,000 บาท
- ค่าเดินทาง จำนวน 6 ครั้งๆละ 5,500 เป็นเงิน 33,300 บาท
- ค่าเบี้ยเลี้ยง 240 บาท 20 วัน 4,800 บาท
- ค่าที่พัก 1,200 บาท 10 คืน 12,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 74,200 บาท
- ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ 93,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 4,480 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
90,000.00 บาท 255,600.00 บาท 73,266.00 บาท 331,314.00 บาท 750,180.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลา 600 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 240 บาทx 15 วัน x3 เดือน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 11,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 40,000 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 45,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 85,000.00 บาท 85,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 846580.00
ผลผลิต : การสร้างเครือข่ายด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ
ชื่อกิจกรรม :
การประชุมความร่วมมือระดับนานาชาติ (AAACU+)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2565 - 30/07/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วินิตรา  ลีละพัฒนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าเดินทางวิทยากร (รัฐมนตรีหรือผู้แทน) 7,000 บาท- ค่ารถรับจ้าง (Taxi ไป-กลับ) 1,000 บาท
- ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 3 คน (1 ห้องๆละ 1,000 บาท จำนวน 2 คืน และ 2 ห้องๆละ1,000บาท จำนวน 3 คืน) 8,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดตกแต่งสถานที่ 25,000 บาท
- ค่าจ้างเหมารถ จำนวน 1 คันๆละ 1,800 บาท จำนวน 3 วัน 5,400 บาท
- ค่าจ้างเหมาบันทึกภาพถ่ายพร้อมอัดภาพ 20,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาถ่ายทำวีดีโอและถ่ายทอดสดพร้อมระบบ Internet 10,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 38,500 บาท
1. วันที่ 4 กค. 65 (เช้า) จำนวน 1 มื้อ จำนวน 100 คนๆละ 35 บาท (ม.แม่โจ้) 3,500 บาท
2. วันที่ 4 กค. 65 (บ่าย) จำนวน 1 มื้อ จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท (โรงแรม) 5,000 บาท
3. วันที่ 5-7 กค. 65 (เช้า-บ่าย) จำนวน 6 มื้อ จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท (โรงแรม) 30,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 100,000 บาท
1. วันที่ 4 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 80 คน ๆ ละ 250 บาท (โรงแรม) 20,000 บาท
2. วันที่ 5 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 130 คน ๆ ละ 250 บาท (โรงแรม) 32,500 บาท
3. วันที่ 6 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 80 คน ๆ ละ 250 บาท (โรงแรม) 20,000 บาท
4. วันที่ 7 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 110 คน ๆ ละ 250 บาท (โรงแรม) 27,500 บาท
- ค่าอาหารเย็น 140,000 บาท
1. วันที่ 4 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 40 คนๆละ 350 บาท (โรงแรม) 14,000 บาท
2. วันที่ 5 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 140 คนๆละ 350 บาท (โรงแรม) 49,000 บาท
3. วันที่ 6 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 100 คนๆละ 350 บาท (โรงแรม) 35,000 บาท
4. วันที่ 7 กค. 65 จำนวน 1 มื้อ จำนวน 120 คนๆละ 350 บาท (โรงแรม) 42,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 354,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 354,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากรที่ไม่ใช่บุคลกรของรัฐ 3 คน *2,000 บาท* 1.5 ชั่วโมง 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง 10,000 บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร 6,000 บาท
- ค่าวัสดุเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 5,000 บาท
- ค่าวัสดุสำนักงาน 15,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 36,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 400000.00
ชื่อกิจกรรม :
การเสวนาแนวทางความร่วมมือด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ (เสวนาและนำเสนอผลงาน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2565 - 30/07/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วินิตรา  ลีละพัฒนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดทำโล่ห์รางวัลจำนวน 13 ชิ้นๆละ 2,000 บาท 22,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 52,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 52,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 52500.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดนิทรรศการด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับนานาชาติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2565 - 30/07/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วินิตรา  ลีละพัฒนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 3,210 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,210.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,210.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3210.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดอบรมและแลกเปลี่ยนบุคลากรเครือข่ายนานาชาติด้านเทคโนโลยีและเกษตรเกษตรอัจฉริยะ : การสัมมนาทางวิชาการ และการประกวดนวัตกรรมระดับนานาชาติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 31/05/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ระพีพันธ์  แดงตันกี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดงานสัมมนาทางวิชาการ และการประกวดนวัตกรรมระดับนานาชาติ 200,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 200000.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดงานประชุมวิชาการเครือข่ายนานาชาติ 2022 UNTA Annual Assemblyเรื่อง “Driving Economy for BCG Model: A Road to Sustainable Growth in High Value Products and Smart Agriculture”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 23/03/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วินิตรา  ลีละพัฒนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดตกแต่งสถานที่สำหรับการแสดงนิทรรศการเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับนานาชาติ 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดอบรมและแลกเปลี่ยนบุคลากรเครือข่ายนานาชาติด้านเทคโนโลยีและเกษตรเกษตรอัจฉริยะ : การประชุมวิชาการเครือข่ายนานาชาติ 2023 SAFE NETWORK

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2566 - 31/05/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ระพีพันธ์  แดงตันกี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (วันที่ 29 พ.ค. 66) 250 คน x 100 บาท เป็นเงิน 25,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (วันที่ 29 พ.ค. 66) 250 คน มื้อละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 17,500 บาท
- ค่าอาหารเย็น (วันที่ 29 พ.ค. 66) 250 คน x 200 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
- ค่าเช่ารถบัสพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง คันละ 7,500 บาท จำนวน 8 คัน เป็นเงิน 60,000 บาท
- ค่าจ้างเหมารถตู้รับ-ส่งบุคลากร 2,500 บาท จำนวน 2 วันเป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าเช่าห้องประชุม 1 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 162,500.00 บาท 162,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 5,000 บาท
- ค่าวัสดุเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 11,250 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,250.00 บาท 16,250.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 178750.00
ผลผลิต : การสรรหาผู้เชี่ยวชาญหรืออาจารย์พิเศษด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
ชื่อกิจกรรม :
การแสวงหาผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่จากภายนอก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาผู้เชี่ยวชาญหรืออาจารย์พิเศษด้านบริหารการศึกษาภายนอก 34,000 บาท*1คน*12เดือน เป็นเงิน 408,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาผู้เชี่ยวชาญหรืออาจารย์พิเศษด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ภายนอก (วุฒิปริญญาเอก) 34,00บาท*1คน*6เดือน เป็นเงิน 204,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาผู้เชี่ยวชาญหรืออาจารย์พิเศษด้านการประเมินและประกันคุณภาพการศึกษา 37,680 บาท*1คน*3เดือน เป็นเงิน 113,040 บาท
- ค่าเดินทาง 15,040 บาท
- ค่าเดินทางเพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญบุคลากร ภายใต้โครงการ BAP เป็นเงิน 145,000 บาท
- ค่าที่พัก 22,000 บาท
- ค่าเบี้ยเลี้ยง 5,000 บาท
- ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง 2,500*2วัน จำนวน 2 ครั้ง 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 113,040.00 บาท 408,000.00 บาท 401,040.00 บาท 922,080.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 922080.00
ผลผลิต : การพัฒนาผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้าสู่ตลาด
ชื่อกิจกรรม :
การยกระดับและเพิ่มกำลังการผลิตของผู้ประกอบการ Scale-up ที่ผ่านมาตรฐานและพร้อมวางจำหน่าย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาการผลิตผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ได้รับมาตรฐานและมีความพร้อมในการวางจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ละ 18,000 บาท*10 ผลิตภัณฑ์ 180,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาพัฒนาบรรจุภัณฑ์ จำนวน 15 ผลิตภัณฑ์ 225,000 บาท
- ค่าธรรมเนียม (เช่น ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจ พาณิชย์การค้า นิติบุคคล การขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา การวิเคราะห์สารสำคัญ
การขึ้นทะเบียน อย. เป็นต้น) จำนวน 13 ผลิตภัณฑ์ 156,721.70 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำผลิตภัณฑ์ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมพร้อมบรรจุภัณฑ์ เป็นเงิน 638,278.30 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 208,948.00 บาท 991,052.00 บาท 1,200,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1200000.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดทำ Catalog ผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2566 - 30/04/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์ (Product Catalog) พร้อมผลิตรูปเล่ม จำนวน 300 เล่ม 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
ผลผลิต : การพัฒนาหลักสูตรด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาหลักสูตรด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมา เจ้าหน้าที่ประสานงานหลักสูตร จำนวน 1 คนๆละ 18,000 บาท/เดือน x 15 เดือน 270,000 บาท
- ค่าจ้างเหมา เจ้าหน้าที่การเรียนการสอนด้านวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 1 คนๆละ 18,000 บาท/เดือน x 15 เดือน 270,000 บาท
- ค่าจ้างเหมา เจ้าหน้าที่การเรียนการสอนด้านวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 1 คนๆละ 18,000 บาท/เดือน x 3 เดือน 5,4000 บาท
- ค่าจ้างเหมา ช่างเทคนิค จำนวน 1 คนๆละ 15,000 บาท/เดือน x 12 เดือน 180,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 162,000.00 บาท 306,000.00 บาท 316,000.00 บาท 784,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 3,970 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 59,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 26,400.00 บาท 36,770.00 บาท 0.00 บาท 63,170.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 847170.00
ผลผลิต : การพัฒนากำลังคน High Quality Engineer (หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมฟาร์มอัจฉริยะและนวัตกรรมเกษตร (ต่อเนื่อง)
ชื่อกิจกรรม :
ทุนการศึกษา/พัฒนา/นวัตกรรม/อื่นๆ จำนวน 80 ทุน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอุดหนุน
- ทุนการศึกษาหลักสูตรละ 40 ทุน 2 หลักสูตร รวม 80 ทุนๆละ 18,000 บาท/ภาคการศึกษา 2 ภาคการศึกษา
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,880,000.00 บาท 2,880,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2880000.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 110 คนๆละ 100 บาท จำนวน 3 มื้อ 33,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 110 คนๆละ 35 บาท จำนวน 6 มื้อ 23,100 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรมชุดละ 50 บาท *100 ชุด 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 61,100.00 บาท 61,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลกรของรัฐ 3 คน *600 บาท* 6 ชั่วโมง 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 45,000 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 120,000 บาท
- ค่าวัสดุไฟฟ้า 10,000 บาท
- ค่าวัสดุเกษตร 100,000 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว 53,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 328,100.00 บาท 328,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 400000.00
ชื่อกิจกรรม :
ทุนการศึกษานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2566 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 50,000.00 บาท
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอุดหนุน
- ทุนการศึกษา (ต่อเนื่อง 2 ปี) หลักสูตรละ 10 ทุน x 43,000 บาท เป็นเงิน 430,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 430,000.00 บาท 430,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 480000.00
ผลผลิต : การพัฒนาและยกระดับด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมอัจฉริยะให้แก่บุคลากร นักศึกษา และบัณฑิตผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
การจัดอบรม Module สำหรับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะด้านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต Short Course for Reskill Upskill/Module Credit bank/สัมฤทธิบัตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 25 คนๆละ 100 บาท จำนวน 3 มื้อ * 8 Module 60,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 25 คนๆละ 35 บาท จำนวน 6มื้อ *8 Module 42,000 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรมชุดละ 70 บาท*20ชุด*8 Module 11,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,500.00 บาท 104,700.00 บาท 113,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลกรของรัฐ 3 คน *600 บาท* 6 ชั่วโมง * 8 Module 86,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,800.00 บาท 72,600.00 บาท 86,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน 27,610 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ 60,000 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 55,000 บาท
- ค่าวัสดุเกษตร 40,000 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 182,610.00 บาท 212,610.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 412210.00
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนา Module สำหรับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะด้านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต Short Course for Reskill Upskill/Module Credit bank/สัมฤทธิบัตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 30/09/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ  ไชยชนะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล