18337 : โครงการเกษตรป่าไม้กับการสื่อความหมายภาษาอังกฤษ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/5/2565 14:45:33
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/05/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กฤษดา  พงษ์การัณยภาส
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-1.การเสริมสร้างวิชาการและทักษาวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง
เป้าประสงค์ 65-1.6 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 65-1.6.1 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65-1.6.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาชั้นปีสุดท้ายให้ได้รับการพัฒนาที่มุ่งเน้นกระบวนการ 5 ด้าน ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ.
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การศึกษาในยุค Thailand 4.0” มีความหมายมากกว่าการเตรียมความพร้อมของคนหรือให้ความรู้กับคนเท่านั้น แต่เป็นการเตรียมมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ กล่าวคือ นอกจากให้ความรู้แล้ว ต้องทำให้เขาเป็นคนที่รักที่จะเรียน มีคุณธรรม และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วย ดังนั้น การศึกษาจึงต้องเร่งดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ให้กับเด็กไทยได้เข้าก้าวสู่ Thailand 4.0 อย่างเป็นรูปธรรมในหลายด้าน เช่น การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการติดต่อสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ การประสานความร่วมมือและการค้าขาย ภาษาอังกฤษจึงเป็นหัวใจสำคัญในฐานะภาษาสากล (English as Global Language) ในการสื่อสารกับนานาชาติในสังคมโลกและนับเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเข้าถึงผู้คนบนโลกได้ การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึงต้องดำเนินการทั้งด้านการเรียนและการสอน เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาความรู้ทางวิชาการ/ วิชาชีพ และสนับสนุนจัดกิจกรรมของนักศึกษา เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีคุณภาพและสามารถอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข เพราะกิจกรรมนักศึกษามีส่วนสำคัญอย่างมากในการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ให้มีความสมบูรณ์พร้อมทังความรู้ด้านวิชาการ วิชาชีพ และวิชา ชีวิต สามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ ข้อมูลข่าวสาร ความเจริญก้าวหน้าของ เทคโนโลยี โดยเฉพาะการสื่อสารทีทำให้สังคมไทยเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วอยู่ตลอดเวลา การส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้านเกษตรป่าไม้ให้กับนักศึกษาสามารถทำได้หลากหลายวิธี การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกันทั้งสองภาษาโดยมีการบูรณาการองค์ความรู้จะทำให้ผู้เรียนใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและเคยชินกับการใช้ภาษามาขึ้น มีความกล้าที่จะใช้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาของผู้เรียนและจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มากขึ้น ทำให้มีโลกทัศน์กว้างขึ้น อนึ่ง การส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้านเกษตรป่าไม้ ได้ผนวกกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นให้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ โดยมีผู้สอนคอยเป็นโค้ชให้มากกว่าจะถ่ายทอดความรู้ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นขั้นที่ทำให้ผู้เรียนมีความคงทนในความรู้ได้ถึงกว่า 100% เพราะเป็นขั้นของการเรียนรู้ที่ผู้เรียนนั้นเกิดองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเองจากการกระทำต่างๆ ซึ่งองค์ความรู้ที่ผู้เรียนได้นี้เองจะทำให้ผู้เรียนเกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ด้วยตนเอง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างฐานการเรียนรู้บูรณาการภาษาอังกฤษกับเกษตรป่าไม้
2. เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อความหมายด้านเกษตรป่าไม้ของนักศึกษา
3. เพื่อพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษด้านเกษตรป่าไม้ของนักศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการเกษตรป่าไม้กับการสื่อความหมายภาษาอังกฤษ
KPI 1 : จำนวนป้ายสื่อความหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 ป้าย 30
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการเกษตรป่าไม้กับการสื่อความหมายภาษาอังกฤษ
ชื่อกิจกรรม :
เกษตรป่าไม้กับการสื่อความหมายภาษาอังกฤษ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/05/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษดา  พงษ์การัณยภาส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วรรณอุบล  สิงห์อยู่เจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อโนชา  สุภาวกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อลิษา  อินจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์สุมัย  หมายหมั้น (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.แหลมไทย  อาษานอก (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล