18310 : โครงการบริการวิชาการของหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร คำยอด (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/5/2565 17:50:47
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/05/2565  ถึง  31/08/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  อาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ 10 คน และครูและนักเรียนหอพระ 10 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน 2565 6,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนทร  คำยอด
อาจารย์ สุวรรณ  เลียงหิรัญถาวร
อาจารย์ อาภาลัย  สุขสำราญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
อาจารย์ สุรชัย  ศรีนรจันทร์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.24 จำนวนกิจกรรมด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่หน่วยงานภายนอก
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA65-มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ LA65-2.7 มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด LA65-2.7-3 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ LA65-2.7-3. ส่งเสริมความร่วมมือการจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA65-มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก(MOC) : การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ LA65-2.10 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด LA65 -2.10 1.จำนวนกิจกรรม/โครงการการบูรณาการกับการเรียนการสอน การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ/หรือสิ่งแวดล้อม (ตัวชี้วัดคณะ)
กลยุทธ์ LA65-2.1-1. ส่งเสริมให้หลักสูตรจัดกิจกรรมพัฒนาด้านการเรียนการสอนที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA65 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC):การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA65 -2.2เสริมสร้างทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ ส่งเสริมและผลักดันหลักสูตรให้มีการพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน
ตัวชี้วัด LA65-2.2-9 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ LA65-2.1-1. ส่งเสริมให้หลักสูตรจัดกิจกรรมพัฒนาด้านการเรียนการสอนที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศได้เปิดสอนรายวิชา ทต141 เอกลักษณ์ไทย และ ทต341 ภาษากับวัฒนธรรมการเกษตรไทย โดยมีเนื้อหาบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องหอมไทย โดยเฉพาะน้ำอบไทย ซึ่งเป็นเครื่องหอมที่ชาวต่างประเทศรู้จัก จากองค์ความรู้ดังกล่าวจึงเห็นว่าการทำน้ำอบไทยตำรับชาววัง เป็นเครื่องหอมไทยที่สามารถนำไปประกอบเป็นอาชีพได้ อีกทั้งเป็นการส่งเสริมเอกลักษณ์ของไทยและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ประกอบกับโรงเรียนโรงเรียนหอพระ ได้ขอความอนุเคราะห์บุคลากรในหลักสูตรภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศเป็นวิทยากรอบรมให้ความรู้เรื่องการทำผลิตภัณฑ์เครื่องหอม ตามหนังสือเลขที่ ศธ04301.31/108 ทางหลักสูตรฯ ตระหนักว่าการบริการชุมชนเป็นพันธกิจที่สำคัญ จึงได้จัดโครงการฝึกอบรมการผลิตน้ำอบไทยขึ้น เพื่อนักศึกษาในหลักสูตรได้ฝึกการใช้ภาษาไทยในสถานการณ์จริง และได้ทบทวนความรู้เรื่องเครื่องหอมไทยโดยร่วมกับวิทยากรจากชุมชนวัดล่ามช้างเพื่อสร้างทักษะในการเป็นผู้ประกอบการด้านวัฒนธรรม ซึ่งเป็นทักษะที่หลักหลักสูตรยังไม่เชี่ยวชาญ อีกทั้งเป็นการสร้างเครื่องข่ายด้านวัฒนธรรมกับหน่วยงานภายนอก

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อบริการวิชาการและถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องหอมไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรมของไทยให้แก่ผู้ที่สนใจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ได้บริการวิชาการและถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องหอมไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรมของไทยให้แก่ผู้ที่สนใจ
KPI 1 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้ด้านเครื่องหอมไทย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ได้บริการวิชาการและถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องหอมไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรมของไทยให้แก่ผู้ที่สนใจ
ชื่อกิจกรรม :
จัดกิจกรรมบริการวิชาการและถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องหอมไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรมของไทย ณ โรงเรียนหอพระ ระหว่างวันที่ 15 พ.ค.-15 ก.ย. 2565

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/05/2565 - 15/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร  คำยอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุวรรณ  เลียงหิรัญถาวร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อาภาลัย  สุขสำราญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (1คนx 3ช.ม.x 600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ภายใต้ภาวะสถานการณ์โรคระบาดไม่สามารอบรมคนจำนวนมากได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กำหนดการรวมคนตามมาตรการของสาธารณสุข
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล