18291 : โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อคงไว้ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม (65-2.7.2)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/6/2566 2:53:50
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/04/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  คณาจารย์และบุคลากรคณะ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กิจกรรมหลักส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
แผนงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กองทุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2565 8,500.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง สาลินี  ไพรัช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธ์ศักดิ์  ภักดี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.4 เป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.24 จำนวนกิจกรรมด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่หน่วยงานภายนอก
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.9(64-68)-FAED มีผลงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในวิถีท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน บุคลากร และนักศึกษา
ตัวชี้วัด 2.24FAED65 จำนวนกิจกรรมด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมแก่หน่วยงานภายนอก
กลยุทธ์ FAED-2.9.1(64-68)พัฒนาทางด้านกายภาพ สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม การจัดกิจกรรม การบูรณาการกับการพัฒนาศักยภาพการเรียนการสอนที่สัมพันธ์กับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 2.24-1FAED 65ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดในแผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ FAED-2.9.2(64-68) ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากร มีส่วนร่วมและมีจิตสำนึกในการสืบสานประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 2.24-2FAED 65ร้อยละโครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ FAED-2.9.2(64-68) ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากร มีส่วนร่วมและมีจิตสำนึกในการสืบสานประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
ตัวชี้วัด 2.24-3FAED 65จำนวนโครงการด้านทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ FAED-2.9.2(64-68) ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากร มีส่วนร่วมและมีจิตสำนึกในการสืบสานประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเป็นภารกิจที่สำคัญประการหนึ่งของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม โดยได้ให้ความสำคัญและได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ซึ่งการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษาของคณะได้สืบสาน อนุรักษ์ และรักษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นไว้สืบไป อันประกอบไปด้วย 1) กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมไทย "พิธีดำหัวผู้อาวุโส" เพื่อให้บุคลากรคณะ ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน ได้มีโอกาสพบปะแสดงความกตัญญูกตเวที แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และขอพรจากผู้อาวุโสเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน และ 2) กิจกรรมการถวายเทียนพรรษา เพื่อเป็นพุทธบูชาเนื่องในวันเข้าพรรษาและสร้างความตระหนักและการอนุรักษ์ประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่นที่ควรค่าแก่การรักษาไว้ให้คนรุ่นหลังได้สืบสานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมคงไว้ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานให้กับบุคลากร ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน
2. เพื่อสร้างความตระหนักและอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
3. เพื่อสร้างช่องทางการสื่อสารระหว่างคณาจารย์ ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการส่งเสริมการจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อคงไว้ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม
KPI 1 : ช่องทางในการสื่อสารระหว่างคณาจารย์ ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ช่องทาง 1
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สืบสานวัฒธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการส่งเสริมการจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อคงไว้ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม
ชื่อกิจกรรม :
1. พิธีดำหัวผู้อาวุโส

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/04/2565 - 20/04/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสาลินี  ไพรัช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารและเครื่องดื่ม (75 บาท x 40 คน x 1 มื่อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5500.00
ชื่อกิจกรรม :
2. กิจกรรมถวายเทียนเนื่องในวันเข้าพรรษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/04/2565 - 20/04/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางสาลินี  ไพรัช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล