18253 : โครงการ DC เด็กรุ่นใหม่ปันน้ำใจให้เพื่อนมนุษย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายนพพร สุนะ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/3/2565 15:48:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/03/2565  ถึง  30/04/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  บุคลากร,นักศึกษาสาขาการสื่อสารดิจิทัล ,ชาวบ้านในพื้นที่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสารสนเทศและการสื่อสาร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 2565 14,380.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กริ่งกาญจน์  เจริญกุล
นาย นพพร  สุนะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. สมเกียรติ  ชัยพิบูลย์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65Info-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจ (MOC) (ด้านพัฒนานักศึกษา)
เป้าประสงค์ 65Info-2.2 นักศึกษาและศิษย์เก่ามีศักยภาพและทักษะในการดำเนินชีวิต ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด 65Info2.12 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65Info-2.2.1 มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่เสริมสร้างทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ ทักษะในศตวรรษที่ 21 และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Green communication พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทางวิชาการ และการพัฒนาทักษะเชิงวิชาชีพและการบูรณาการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม และการรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมทั้งศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และเครือข่ายองค์กรวิชาชีพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานจริงเชิงวิชาชีพของภาคผลิตในสังคม (Real Sector)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการ DC เด็กรุ่นใหม่ปันน้ำใจให้เพื่อนมนุษย์ เป็นกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาที่สำคัญยิ่งที่สโมสรนักศึกษาคณะสารสนเทศและการสื่อสารได้กำหนดขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ด้านสื่อดิจิทัลให้กับนักศึกษา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจด้านวิชาการสื่อสารดิจิทัล ที่ได้เรียนมา อาทิ การถ่ายภาพ,Info graphic, Animation หนังสั้น หรือสื่ออื่นๆ ผสมผสานระหว่างการเรียนในสถานศึกษาและการทำงานร่วมกับชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาความสามารถ การวางแผน การประสานงาน และทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์สู่การปฏิบัติจริง โดยบูรณาการร่วมกับโครงการธรรมชาติปลอดภัยแม่แจ่ม : สร้างฝายมีชีวิตเพื่ออนุรักษ์คน น้ำ ป่า และอาชีพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565 นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมกิจกรรมด้านจิตอาสา ปันน้ำใจ และทำประโยชน์ ด้านการผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว ให้แก่ชุมชน สังคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถนำผลงานของนักศึกษาไปใช้เพื่อประชาสัมพันธ์ท้องถิ่นในโอกาสต่อไปได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ทักษะการทำงานเป็นทีม การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ การประสานงาน และการแก้ปัญหา โดยการปฏิบัติจริง และบูรณาการร่วมกับกับชุมชน
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในด้านการอาสาพัฒนาแก่ชุมชน สังคม และการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ทักษะการทำงานเป็นทีม การสื่อสาร และการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ มีจิตอาสาในการช่วยเหลือผู้อื่น และมีทักษะความรู้ด้านสื่อดิจิทัลเพิ่มมากขึ้น
KPI 1 : จำนวนผลงานและนวัตกรรม ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและ สังคมได้ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษาที่สร้างสรรค์ อย่างน้อย 1 ผลงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลงาน 1
KPI 2 : การมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ทักษะการทำงานเป็นทีม การสื่อสาร และการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ มีจิตอาสาในการช่วยเหลือผู้อื่น และมีทักษะความรู้ด้านสื่อดิจิทัลเพิ่มมากขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
อาสาปันน้ำใจและผลิตสื่อสร้างสรรค์ ร่วมกับชุมชน พื้นที่บ้านแม่ปาน-สันเกี๋ยง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/03/2565 - 18/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กริ่งกาญจน์  เจริญกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายนพพร  สุนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้สอย ค่าจ้างเหมาเช่ารถ (รถตู้) (1,800 บาท/วัน x 3 วัน x 1 คัน) = 5400 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้สอย ค่าที่พัก(11 คน x 300 บาท x 2 วัน) =6,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ ชุดตรวจ ATK ป้องกันโคโรนาไวรัส 2019 (11 คน x 80 บาท x 1 ชุด) = 880 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 880.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 880.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถเช่า (รถตู้; มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย เชียงใหม่ ไป-กลับ บ้านแม่ปาน – สันเกี๋ยง อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่) โดยประมาณการ จำนวน 500 บาท/วัน x 3 วัน x 1 คัน = 1,500.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14380.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
โครงการธรรมชาติปลอดภัยแม่แจ่ม : สร้างฝายมีชีวิตเพื่ออนุรักษ์คน น้ำ ป่า และอาชีพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565
ช่วงเวลา : 16/03/2565 - 18/03/2565
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ