18250 : โครงการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ (65-2.2.3)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายณัฐภัทร ดาวสุข (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/7/2565 17:44:39
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  160  คน
รายละเอียด  1. นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวลล้อม 2. คณาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนกิจการนักศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2565 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ณัฐภัทร  ดาวสุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ พรทิพย์  จันทร์ราช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธ์ศักดิ์  ภักดี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.15 สร้างและพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยในทุกๆพันธกิจ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.2(64-68)-FAED การพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ และสำเร็จการศึกษาตามแผนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด 2.7FAED65 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตัวชี้วัด 2.8FAED65 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โลกในศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน หรือกิจกรรมนักศึกษานั้น มีความสำคัญอย่างมากในการพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะและประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงมีนโยบายในการพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ดี เก่ง และมีความสุข ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนนั้นทำให้นักศึกษามีโอกาสได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เป็นเครื่องมือฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม เป็นหมู่คณะ และรู้จักคิด รู้จักวางแผนอย่างเป็นกระบวนการ ซึ่งกระบวนการเหล่านี้ จะเป็นตัวกำหนดการทำงานขององค์กรอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีระยะเวลาที่แน่นอน สามารถวางระบบการทำงานที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม หรือเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดบริการข้อมูลข่าวสาร ความรู้ที่เป็นประโยชน์ ด้านแหล่งงาน แนวทางการประกอบอาชีพ บุคลิกภาพ และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ทั้งในและต่างประเทศ แก่นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่กำลังจะสำเร็จการศึกษา
เพื่อเตรียมความพร้อมด้านบุคลิกภาพ และสร้างความมั่นใจแก่นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่จะออกไปสร้างประสบการณ์วิชาชีพ หรือประกอบอาชีพในอนาคต และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ตลอดจนการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ชีวิตและเตรียมความพร้อมด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ในลักษณะเฉพาะทางวิชาชีพสถาปัตยกรรมให้กับนักศึกษาใหม่
เพื่อให้นักศึกษาใหม่รับทราบแนวปฏิบัติด้านการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา นโยบายการบริหารงาน การวางแผนการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา และการทำกิจกรรมเสริมทักษะความรู้ ตลอดจนให้นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ได้มีโอกาสพบปะพูดคุย ให้คำแนะนำในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านการเรียน การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการจัดโครงการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐาน ในการสร้างการเป็นผู้ประกอบการในสายวิชาชีพสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรมและการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการจากกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ที่เป็นประโยชน์ ด้านแหล่งงาน แนวทางการประกอบอาชีพ บุคลิกภาพ และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ทั้งในและต่างประเทศ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ชีวิต การเตรียมความพร้อมด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 แนวปฏิบัติด้านการจัดกิจกรรมนักศึกษา นโยบายการบริหารงาน การวางแผนการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา และการทำกิจกรรมเสริมทักษะความรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการจัดโครงการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ประจำปีการศึกษา 2564

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/04/2565 - 07/04/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายณัฐภัทร  ดาวสุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 3 คน x 1 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3600.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2565

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายณัฐภัทร  ดาวสุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 200 คน x 30 บาท x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 400.00 บาท 400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สัญญาณอินเตอร์ไม่ค่อยความเสถียรเท่าที่ควร
เนื่องจากการจัดโครงการจัดในวันเดียวกับส่วนกลางของมหาวิทยาลัย แต่เนื่องด้วยมหาวิทยาลัยมีการเปลี่ยนเวลาจากช่วงเช้า ไปเป็นช่วงบ่าย คณะจึงต้องเลื่อนเวลามาจัดในช่วงเช้า
งบประมาณในการจัดโครงการไม่เพียงพอ เนื่องจากมีการเลื่อนจัดโครงการมาเป็นช่วงเช้า ทำให้ต้องจัดบริการอาหารว่าง/เครื่องดื่มและอาหารกลางวันให้นักศึกษาใหม่ ทำให้ต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นจากเดิม
อาหารว่างและเครื่องดื่มที่มหาวิทยาลัยจัดสรรให้คุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร มีขนมบางส่วนขึ้นรา ไม่สามารถนำมานักศึกษารับประทานได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปรับเปลี่ยนเวลาการจัดโครงการตามความเหมาะสม
จัดอาหารว่างและเครื่องดื่มให้เพียงพอภายใต้งบประมาณที่มีอย่างจำกัดและมีคุณภาพ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล