18249 : โครงการค่ายอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ประจำปีการศึกษา 2564 (65-2.3.1)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายณัฐภัทร ดาวสุข (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/8/2565 10:45:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/03/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  1. นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ 2. ศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3. อาจารย์และบุคลากรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ 4. หน่วยงานภายนอก
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบพัฒนานักศึกษา
แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนกิจการนักศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2565 60,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนกิจการนักศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2565 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ณัฐภัทร  ดาวสุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาย ธวัชชัย  มานิตย์
อาจารย์ พรทิพย์  จันทร์ราช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธ์ศักดิ์  ภักดี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.15 สร้างและพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยในทุกๆพันธกิจ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.2(64-68)-FAED การพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ และสำเร็จการศึกษาตามแผนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด 2.7FAED65 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตัวชี้วัด 2.8FAED65 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม เป็นคณะที่มีการจัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นนักออกแบบที่ดี อุดมด้วยปัญญา อดทน สู้งาน มีคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อความเจริญรุ่งเรืองวัฒนาของสังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน ที่ตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม และภูมิสังคม ทั้งนี้ยังได้กำหนดเป็นคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี และมีความสุข คือ บัณฑิตของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ จะต้องมีศักยภาพ มีความเป็น Good Designer ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ความใฝ่รู้ ความคิดสร้างสรรค์ และจิตสาธารณะต่อสังคม (CSR : corporate social responsibility) ทักษะในการดำเนินชีวิต และทักษะทางสังคม การส่งเสริมสุขภาพ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นผู้นำ โดยการประยุกต์ความรู้ทางวิชาการไปสู่การปฏิบัติและพัฒนาสังคม ชุมชน ให้ได้รับประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะความตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม และจิตสาธารณะต่อสังคม (CSR : corporate social responsibility) ดังนั้น ทางคณะฯ จึงได้มีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ให้มีการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะดังกล่าวให้เกิดขึ้น ทั้งนักศึกษาที่กำลังศึกษาและนักศึกษาที่จะจบการศึกษาออกไปประกอบวิชาชีพในสังคม โดยเฉพาะกิจกรรมเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษาที่พึงตระหนักถึงการมีจิตสาธารณะต่อสังคม การรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น การอยู่ร่วมกันในสังคม การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ โครงการค่ายอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม จึงเป็นโครงการที่มีความสำคัญ ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี และมีความสุข ซึ่งโครงการนี้ได้มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่มาจากการเรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้นักศึกษาได้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ธำรงรักษาและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในวิถีชีวิตท้องถิ่นและชาติ พัฒนาและบูรณาการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชนท้องถิ่น องค์กร เครือข่าย หน่วยงานภายในและภายนอก ให้เกิดการสร้างสรรค์ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในหลายมิติ ได้แก่ องค์ความรู้ด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การปลูกจิตสำนึกด้าน Green – Eco Unity and Community สืบสาน เผยแพร่ และสร้างสรรค์องค์กรด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเสริมสร้างและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี และมีความสุข ทั้งด้านการพัฒนาวิชาชีพ ความใฝ่รู้ ความคิดสร้างสรรค์ จิตสาธารณะต่อสังคม และทักษะศตวรรษที่ 21
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้นักศึกษาเรียนรู้จากประสบการณ์นอกห้องเรียน ในเรื่องทักษะในการดำเนินชีวิต ทักษะทางสังคม รวมทั้งมีปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นผู้นำ มีความตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม โดยการประยุกต์ความรู้ทางวิชาการไปสู่การปฏิบัติและพัฒนาสังคม ชุมชน ให้ได้รับประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน
เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในด้านวิชาชีพกับหน่วยงานภายนอกและภายในมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการจัดโครงการค่ายอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ประจำปีการศึกษา 2564
KPI 1 : นักศึกษามีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี และมีความสุข ทั้งด้านการพัฒนาวิชาชีพ ความใฝ่รู้ ความคิดสร้างสรรค์ จิตสาธารณะต่อสังคม และทักษะศตวรรษที่ 21
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 2 : ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการจากกลุ่มเป้าหมาย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐาน ในการสร้างการเป็นผู้ประกอบการในสายวิชาชีพสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรมและการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์นอกห้องเรียน ในเรื่องทักษะในการดำเนินชีวิต ทักษะทางสังคม รวมทั้งมีปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นผู้นำ มีความตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม โดยการประยุกต์ความรู้ทางวิชาการไปสู่การปฏิบัติและพัฒนาสังคม ชุมชน ให้ได้รับประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในด้านวิชาชีพกับหน่วยงานภายนอกและภายในมหาวิทยาลัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 หน่วยงาน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการจัดโครงการค่ายอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ประจำปีการศึกษา 2564
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมค่ายอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/03/2565 - 29/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายณัฐภัทร  ดาวสุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาขนขยะ (เงินรายได้คณะ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
(250 คน x 25 บาท x 2 มื้อ=12,500.-) (งบพัฒนานักศึกษา)+
(250 คน x 25 บาท x 1 มื้อ=6,250.-) (เงินรายได้คณะ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,750.00 บาท 18,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน
(250 คน x 60 บาท x 2 มื้อ)
(งบพัฒนานักศึกษา)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารเย็น
(250 คน x 70 บาท x 1 มื้อ)
(งบพัฒนานักศึกษา)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท 17,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร
(จำนวน 1 คน x 2 ชั่วโมง x 500 บาท)
(เงินรายได้คณะ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุ (เงินรายได้คณะ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 750.00 บาท 750.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากการจัดโครงการในปีนี้ให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการเพื่อจะได้ทราบจำนวนที่ชัดเจน แต่มีนักศึกษาบางคนที่ไม่ได้ลงทะเบียนแต่มาเข้าร่วมโครงการ
อาหารกลางวันไม่เพียงพอในวันแรกเนื่องจากมีนักศึกษาที่ไม่ลงทะเบียนมาเข้าร่วมโครงการเพิ่มเติม จำนวน 27 คน ประกอบกับต้องแบ่งอาหารจำนวน 7 กล่อง ไปให้ทีมวิทยากรหมอต้นไม้ จึงได้สั่งอาหารกลางวันเพิ่มอีก จำนวน 20 กล่อง เพื่อให้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
การดำเนินกิจกรรมในบางช่วงไม่เป็นไปตามกำหนดการ เนื่องจากบางกิจกรรมต้องใช้เวลานานกว่าปกติ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ให้นักศึกษาที่ไม่ได้ลงทะเบียนเข้าร่วมได้ตามปกติ และนับยอดนักศึกษาเพิ่ม
สั่งอาหารเพิ่มตามจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น
ปรับเปลี่ยนกิจกรรมตามสถานการณ์และระยะเวลา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล