18235 : โครงการการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการทางธุรกิจประมง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/3/2565 10:20:33
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/03/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บัณฑิต คณาจารย์ บุคลากรของคณะฯ และเกษตรกรผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาเทคโนโลยีการประมงฯ กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดารชาต์  เทียมเมือง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. จงกล  พรมยะ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูล
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านบริหารจัดการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.17 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างความเป็นผู้ประกอบการ เช่นการสร้าง Learning Space และ Working Space เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนักศึกษา
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.2 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.3 พัฒนาศักยภาพของศิษย์เก่าแม่โจ้อย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบ Re-training หรือ Re-skills เพื่อให้สามารถเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ หรือมีความสามารถเป็นที่พอใจของนายจ้าง
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.4 งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.5 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.6 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.7 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.8 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.4 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.9 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.4 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-65-2.1 ผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพ และส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-2-8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FT-65-2.1.5 พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพในสาขาวิชาและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-2-10 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-65-2.1.5 พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพในสาขาวิชาและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-65-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ FT-65-4.1 สนับสนุนด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด FT-65-4-2 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-65-4.1.2 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-4-4 งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่
กลยุทธ์ FT-65-4.1.2 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-4-5 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FT-65-4.1.2 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-4-6 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-65-4.1.2 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-4-7 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-65-4.1.2 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-4-8 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FT-65-4.1.2 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-65-4-9 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FT-65-4.1.2 สนับสนุนและสร้างบรรยากาศเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามประกาศกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เรื่อง การกำหนดให้สถาบันอุดมศึกษา สังกัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาประจำปีงบประมาณ 2565 เมื่อวันที่ 29 พ.ย.2564 ให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้อยู่กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม นั้น คณะฯ ได้มีกำหนดกลยุทธ์เพื่อผลักดันให้การดำเนินงานของมหาวิทยาลัยเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด โดยคณะฯ ได้มีการกำหนดนโยบายด้านการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing) โดยสนับสนุนด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation) เพื่อให้นักศึกษาและบัณฑิตได้มีศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาเป็นผู้ปะกอบการ พร้อมปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำและคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา ได้มีการจัดทำโครงการการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการทางธุรกิจประมง โดยบูรณาการระหว่างการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และกิจกรรมนักศึกษา ซึ่งมีรูปแบบการผลิตที่มาจากการเรียนรู้ในกระบวนการรายวิชา ได้แก่ รายวิชานวัตกรรมการจัดการธุรกิจประมง รายวิชาการตลาดสินค้าประมงสำหรับเจ้าของธุรกิจ รายวิชาการจัดการฟาร์ม รายวิชาเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง และรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกที่สนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่ โดยรายละเอียดโครงการมีองค์ประกอบหลักในการพัฒนา ดังนี้ การดำเนินงานช่วงต้นน้ำ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการศักยภาพของนักศึกษาในด้านความเป็นผู้ประกอบการที่ดี โดยมีการฝึกอบรมทางด้านธุรกิจ ซึ่งมีความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการทางด้านธุรกิจประมง เช่น Design thinking การออกแบบผลิตภัณฑ์ การเขียนแผนธุรกิจ การเสริมสร้างบุคลิกภาพการเป็นผู้นำ และการตลาดดิจิทัล เป็นต้น การดำเนินงานช่วงกลางน้ำ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับธุรกิจประมง ทั้งการวางแผนในการจัดการการผลิตนวัตกรรมทางการประมง ทำให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการที่มีการลงทุนจริง จนถึงกิจกรรมการประกวดนวัตกรรมทางด้านการประมง (Fishtech start up league) เพื่อให้ได้ผลผลิตตามที่ต้องการ การดำเนินงานช่วงปลายน้ำ เป็นกิจกรรมตลาดธุรกิจประมงจำลอง เพื่อฝึกให้นักศึกษาได้มีการจำหน่ายสินค้าสู่ตลาดทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นและการวางแผนธุรกิจ ส่งเสริมให้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ดึงศักยภาพของการเป็นผู้ประกอบการและสามารถบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ซึ่งนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการนี้ จะได้รับความรู้และประสบการณ์จากการปฏิบัติงานจริง โดยมีคณาจารย์ บุคลากร และศิษย์เก่า ที่มีความรู้ เป็นที่ปรึกษา มีเครือข่ายกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกในการสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่ อีกทั้งผลผลิตที่ได้ทั้งหมดจะนำไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองจากคณะเทคโนโลยีการประมงฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีการวางจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ่านทุกช่องทาง ทั้งในตลาดแบบออนไลน์ และตลาดแบบออฟไลน์ โดยนักศึกษาจะได้รับผลตอบแทนตามความสามารถ และความอุตสาหะ เพื่อเป็นเงินทุนค่าเทอม และค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาและบัณฑิตได้มีองค์ความรู้ด้านผู้ประกอบการทางด้านธุรกิจประมง
เพื่อให้นักศึกษาและบัณฑิตได้นำองค์ความรู้ด้านผู้ประกอบการทางด้านธุรกิจประมงมาใช้ในการฝึกปฏิบัติจริง
เพื่อสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกในการสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาและบัณฑิตได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้เป็นผู้ประกอบการ : กิจกรรมการอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมทางการประมง
KPI 1 : ระดับความพึงพอใจโดยรวมของนักศึกษาต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 2 : ร้อยละของนักศึกษาและบัณฑิตที่เข้าร่วมกิจกรรม (จากจำนวน 100 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ระดับความรู้ที่ได้รับหลังจากเข้าร่วมอบรมการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 4 : ร้อยละของกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ร้อยละของคณาจารย์และบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม (จากจำนวน 4 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนรายวิชาที่ร่วมบูรณาการในกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 1 1 วิชา 4
ผลผลิต : นักศึกษาและบัณฑิตได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้เป็นผู้ประกอบการ : กิจกรรมการประกวดนวัตกรรมทางด้านการประมง (Fishtech start up league)
KPI 1 : จำนวนผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ผลิตภัณฑ์ 5
KPI 2 : ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม (จากจำนวน 30 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ระดับความพึงพอใจโดยรวมของนักศึกษาต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 4 : ร้อยละของกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ร้อยละของคณาจารย์และบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม (จากจำนวน 4 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : นักศึกษาและบัณฑิตได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้เป็นผู้ประกอบการ : กิจกรรมตลาดธุรกิจประมงจำลอง
KPI 1 : ร้อยละของคณาจารย์ และบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม (จากจำนวน 5 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจโดยรวมของผู้ข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 3 : จำนวนผลิตภัณฑ์ประมงที่ได้จำหน่าย (แบบสด แบบพร้อมทาน แบบแปรรูป)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ผลิตภัณฑ์ 3
KPI 4 : ร้อยละของกิจกรรมเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : ร้อยละของนักศึกษาและบัณฑิตที่เข้าร่วมกิจกรรม (จากจำนวน 30 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของเกษตรกรผู้ที่สนใจที่เข้าร่วมอบรม (จากจำนวน 20 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ระดับความรู้ที่ได้รับหลังจากเข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาและบัณฑิตได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้เป็นผู้ประกอบการ : กิจกรรมการอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมทางการประมง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมทางการประมง
- Design thinking 1 ครั้ง
- การออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ครั้ง
- การเขียนแผนธุรกิจ 1 ครั้ง
- การเสริมสร้างบุคลิกภาพการเป็นผู้นำ 1 ครั้ง
- การตลาดดิจิทัล 1 ครั้ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/03/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์  เทียมเมือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดาพร  ตงศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์กานต์  ทิพยาไกรศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอัจฉรา  เสาวฤทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 ครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมงๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 7,200.00 บาท 3,600.00 บาท 18,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18000.00
ผลผลิต : นักศึกษาและบัณฑิตได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้เป็นผู้ประกอบการ : กิจกรรมการประกวดนวัตกรรมทางด้านการประมง (Fishtech start up league)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการประกวดนวัตกรรมทางด้านการประมง (Fishtech start up league)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/03/2565 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์  เทียมเมือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์กานต์  ทิพยาไกรศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.โดม  อดุลย์สุข (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำโล่รางวัล ขนาด 7 นิ้ว จำนวน 5 ชิ้น ๆ ละ 1,200 บาท รวมเป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6000.00
ผลผลิต : นักศึกษาและบัณฑิตได้รับการพัฒนาศักยภาพการให้เป็นผู้ประกอบการ : กิจกรรมตลาดธุรกิจประมงจำลอง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมตลาดธุรกิจประมงจำลอง
- การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเพิ่มมูลค่าปูนาเพื่อสร้างอาชีพใหม่และการตลาดออนไลน์
- การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์นักศึกษา/ศิษย์เก่าที่เป็นผู้ประกอบการ
- จัดนิทรรศการผลิตภัณฑ์ทางการประมง
- การจำหน่ายสินค้าทางการประมง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/03/2565 - 30/04/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์  เทียมเมือง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดาพร  ตงศิริ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์กานต์  ทิพยาไกรศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายประเสริฐ  ประสงค์ผล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.น้ำเพชร  ประกอบศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางกัลยารัตน์  วงศ์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.จิราพร  มอญเลิศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศิรินยา  อ้นแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ว่าที่ ร.ต.เอกรินทร์  แสนแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จอมสุดา  ดวงวงษา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายวีระวัฒน์  ฟังเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาในการจัดในการจัดงานตลาดธุรกิจประมงจำลอง จำนวน 26,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 26,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 26,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 26000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล