18231 : โครงการ DESIGNER TALK “from Chiangmai to CHINA” และประสบการณ์การทำงานที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (65-4.1.3)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/3/2565 19:06:14
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
07/03/2565  ถึง  31/03/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษา และศิษย์เ่ก่าของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน -ไม่เบิกจ่ายงบประมาณ- 2565 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันธ์ศักดิ์  ภักดี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. โชคอนันต์  วาณิชย์เลิศธนาสาร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.15 สร้างและพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยในทุกๆพันธกิจ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.17 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างความเป็นผู้ประกอบการ เช่นการสร้าง Learning Space และ Working Space เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนักศึกษา
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.2 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.3 พัฒนาศักยภาพของศิษย์เก่าแม่โจ้อย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบ Re-training หรือ Re-skills เพื่อให้สามารถเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ หรือมีความสามารถเป็นที่พอใจของนายจ้าง
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.5 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.2(64-68)-FAED การพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ และสำเร็จการศึกษาตามแผนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด 2.7FAED65 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตัวชี้วัด 2.8FAED65 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4(64-68)-FAED การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 4.1 (64-68)-FAED การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และผู้ประกอบการในการเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่
ตัวชี้วัด 4.2FAED65 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.1(64-68) จัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาความเป็นผู้ประกอบการแก่นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ครอบคลุมในทางวิชาการและวิชาชีพ
ตัวชี้วัด 4.5FAED65 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FAED-4.1.3 (64-68) ผลักดัน ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและนักศึกษาของคณะได้แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม เป็นหนึ่งในคณะฯที่มีการเปิดการเรียนการสอนในสาขาวิชาชีพควบคุม ภายใต้การกำกับคุณภาพและมาตรฐานโดยสภาวิชาชีพ จึงจำเป็นต้องส่งเสริมในการพัฒนาความรู้ในสาระที่สำคัญ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของแวดวงการก่อสร้าง เทคโนโลยีต่างๆที่จะนำมาอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการงานก่อสร้างและการออกแบบ อีกทั้งยังเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างหน่วงงานกับภาคีภาคส่วน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการและวิชาชีพ อันจะนำไปสู่การพัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับนักศึกษาและบุคลากรคณะฯ กิจกรรมบรรยายพิเศษในเรื่อง DESIGNER TALK “from Chiangmai to CHINA” เป็นการบรรยายจากสถาปนิก และภูมิสถาปนิกวิชาชีพ ที่เป็นศิษย์เก่า และมีประสบการทำงานในประเทศจีน มาบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์การทำงาน ตัวอย่างผลงาน การเตรียมความพร้อมในการทำงานทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการเตรียมพร้อมสำหรับการเป็นผู้ประกอบการซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพทางวิชาการและวิชาชีพให้กับนักศึกษา บุคลากร และผู้สนใจ และสอคล้องกับการสร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะพึงประสงค์ ส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตด้วยกิจกรรมที่สอดคล้องกับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป เหล่านี้จะช่วยให้บัณฑิตเข้าใจบทบาทวิชาชีพ เทคนิคในการบริหารจัดการโครงการ ได้อย่างเหมะสม ตลอดจนการพัฒนาวิชาการและการเรียนการสอนของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นการสร้างเสริมการเรียนรู้นอกเหนือจากการเรียนในรูปแบบปรกติผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพตามกรอบวิชาการและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
เป็นการสร้างเครือข่ายในแวดวงวิชาการและวิชาชีพ ระหว่างศิษย์เก่า วิชาชีพ และนักศึกษาปัจจุบัน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการจัดโครงการ DESIGNER TALK “from Chiangmai to CHINA” และประสบการณ์การทำงานที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
KPI 1 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เพื่อพัฒนาและเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนเครือข่ายทางวิชาการและวิชาชีพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เครือข่าย 1
KPI 3 : จำนวนนักศึกษาและศิษย์เก่าที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการจัดโครงการ DESIGNER TALK “from Chiangmai to CHINA” และประสบการณ์การทำงานที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมบรรยายเชิงวิชาการ จาก สถาปนิกและภูมิสถาปนิกวิชาชีพ และการเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานในต่างประเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 07/03/2565 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันธ์ศักดิ์  ภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ไม่เบิกจ่ายงบประมาณ-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การจัดงานในสถาณการการระบาดของ โควิด 19 ทำให้ต้องเลื่อนกิจกรรม และสรุปให้จัดในรูปแบบ online
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
วางแผนงานและปรับแผนงานตามสถาณการณ์ภายใต้ความปลอดภัย
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล