18212 : โครงการพัฒนาทักษะกำลังคนของประเทศ (Reskill/Upskill/Newskill) เพื่อการมีงานทำและเตรียมความพร้อมรองรับการทำงานในอนาคต" หลักสูตร ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (พีจีเอส)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายพงศ์กฤตน์ ภูริชพิสิฐกร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/2/2565 12:52:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
14/02/2565  ถึง  31/03/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  1) ผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ได้รับผลกระทบ 2) แรงงานในระบบที่ถูกเลิกจ้าง/แรงงานคืนถิ่น 3) ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบในช่วงสถานการณ์ Covid
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะสารสนเทศและการสื่อสาร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณสนับสนุนจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 2565 350,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ปิยวรรณ  สิริประเสริฐศิลป์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กัญญ์พัสวี  กล่อมธงเจริญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โสภณ  ฟองเพชร
นาย พงศ์กฤตน์  ภูริชพิสิฐกร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.6 ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.7 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65Info-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 65Info-4.1 พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology & Innovation)
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
เป้าประสงค์ 65Info-4.1 พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology & Innovation)
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65Info-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 65Info-4.1 พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology & Innovation)
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
เป้าประสงค์ 65Info-4.1 พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology & Innovation)
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
ตัวชี้วัด 65Info-4.8 หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
กลยุทธ์ 65Info-4.1.3 ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อสร้างอาชีพด้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และด้านเกษตรยั่งยืนครบ ส่งเสริมให้เกิดการนำวัตถุดิบ สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (Cultural Asset - Based) ร่วมกับความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงพาณิชย์ พัฒนาทักษะให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชนให้มีการบริหารจัดการที่ดี และผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการของชุมชนที่ได้มาตรฐาน สร้างเครือข่าย ความร่วมมือ การสรรหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (Cluster) และความร่วมมือ ระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และความเป็นอยู่เพื่อการยั่งยืน ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศและพันธกิจของมหาวิทยาลัยทั้งด้านวิชาการ บริการวิชาการ วิจัย เพื่อพัฒนาสังคมในยุคดิจิทัล โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และ เทคโนโลยี นวัตกรรมทางสังคม การผลิตสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการแสวงหารายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยมีประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศเป็นเกษตรกร ที่มีบทบาทสำคัญต่อการผลิตพืชอาหารและวัตถุดิบเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต แต่ปัจจุบันเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มประชากรที่ต้องประสบกับวิกฤติ ปัญหา ภาวะความเสี่ยงในลักษณะต่างๆ นอกจากปัญหาหนี้สิน ความยากจน การสูญเสียที่ทำกิน และสูญเสียอาชีพเนื่องจากผู้ประกอบการเอกชนเข้ามามีบทบาทควบคุมระบบเกษตรกรรมมากขึ้น ในรูปแบบเกษตรพันธะสัญญา ทั้งการผลิต การแปรรูป และเทคโนโลยี ทำให้เกษตรกรที่เข้าไม่ถึงโอกาส ขาดข้อมูล และองค์ความรู้ เป็นฝ่ายเสียเปรียบ ไม่สามารถควบคุมปัจจัยการผลิต และกำหนดราคาผลผลิตของตนเองได้ ส่งผลต่อการขาดทุน ในขณะที่นายทุนมีอิทธิพลต่อการควบคุมปัจจัยการผลิต ทั้งเมล็ดพันธุ์ การใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง มีมากขึ้น เป็นลำดับ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพดิน น้ำ อากาศ สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม รวมถึงปัญหาการเจ็บป่วย ภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ผลิตและผู้บริโภคตามมาแรงผลักดันจากการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ ทำให้เกษตรกรรายย่อย เจ้าของฟาร์ม ผู้ประกอบการขนาดเล็กหายไปจากสังคมไทย เกษตรกรจึงเป็นเพียงผู้รับจ้างแรงงานในที่ดินของตนเอง จังหวัดเชียงใหม่ มีสภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ป่าต้นน้ำ สภาพของดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเจริญเติบโดของพืชผลทางการเกษตร นอกจากมีทรัพยากรธรรมชาติดิน น้ำ ป่า ที่ควรค่าแก่การรักษาแล้ว พื้นที่โดยรวมยังเป็นแหล่งวัตถุดิบผลิตอาหารขนาดใหญ่ของประเทศที่สร้างรายได้จากการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจประเภทพืช ผัก สมุนไพร และผลไม้เมืองหนาวที่ตลาดต้องการหลายชนิด แต่กระบวนการผลิตและการจำหน่ายยังมีข้อจำกัด โดยเฉพาะชุมชนในพื้นที่เกษตรกรรมที่ห่างไกล ส่วนใหญ่ยังเป็นการใช้สารเคมีช่วงเร่งทำการเพาะปลูกในฤดูกาล จึงส่งผลกระทบต่อสภาพดิน น้ำ อากาศ สิ่งแวดล้อม ทำลายสุขภาพประชาชน ท่ามกลางความผันผวนทางเศรษฐกิจ ปัญหาความเหลื่อมล้ำ และสถานการณ์โรคระบาด ทำให้ปริมาณความต้องการสินค้าเกษตรและอาหารที่ปลอดภัยมีเพิ่มสูงขึ้น พร้อมกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการผลิตและบริการ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว พร้อมกับการสร้างความปลอดภัยและมั่นคงทางอาหาร Food Safety & Food Security โดยให้ความสำคัญกับการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) จากแหล่งผลิตและการจัดการผลผลิตที่มีมาตรฐาน ก่อนส่งเข้าสู่ระบบตลาดและผู้บริโภค แนวคิดการให้บริการวิชาการแก่สังคมของสถาบันการศึกษา จึงควรส่งเสริมองค์ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ผลิต ผู้บริโภค ในห่วงโซ่อาหาร ทั้งด้านความรู้ ทักษะที่จำเป็นสำหรับอาชีพและการมีงานทำในสังคมยุคใหม่ และเตรียมความพร้อมที่จะเป็นผู้ประกอบการที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของทุกคน หลักสูตร ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee System : PGS) เป็นหลักสูตรประกาศนียบัตร (non degree) มีแนวคิดที่สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ และทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มุ่งพัฒนากำลังคนให้มีศักยภาพ ด้วยวิทยาการ องค์ความรู้ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับยุคสมัย โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมซึ่งเป็นแหล่งผลิตอาหารที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีพ และ PGS จะเป็นเครื่องมือควบคุมคุณภาพการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการผลผลิตสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อาหาร เป็นการเสริมสร้างทักษะวิชาชีพ Re-skill จากความรู้พื้นฐานเดิมที่มี ปรับสู่กระบวนการผลิตที่มีมาตรฐาน ได้รับการยอมรับและเป็นที่ต้องการของตลาดผู้บริโภค นอกจากจะส่งผลต่อการสร้างงานอาชีพ ทำให้มีรายได้เพิ่ม และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นแล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างความตระหนักต่อการใช้ทรัพยากร ดิน น้ำ ป่าอย่างรู้คุณค่า และรักษาความอุดมสมบูรณ์ไว้ให้คนรุ่นหลังต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะวิชาชีพที่จำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะให้กับเยาวชน ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบใจช่วงสถานการณ์ Covid-19
เพื่อส่งเสริมการทำเกษตรสมัยใหม่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยกระดับการผลิต ให้ได้รับการรับรองมาตรฐานการเกษตรแบบมีส่วนร่วมของท้องถิ่นสู่สากล
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะวิชาชีพเกษตรกรรม สำหรับอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) โดยเป็นเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ที่พร้อมยกระดับสู่มาตรฐาน PGS
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะวิชาชีพเกษตรกรรม สำหรับอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) โดยเป็นเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ที่พร้อมยกระดับสู่มาตรฐาน PGS
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80 80
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะวิชาชีพเกษตรกรรม สำหรับอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) โดยเป็นเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ที่พร้อมยกระดับสู่มาตรฐาน PGS
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะวิชาชีพเกษตรกรรม สำหรับอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) โดยเป็นเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ที่พร้อมยกระดับสู่มาตรฐาน PGS
ชื่อกิจกรรม :
"การฝึกอบรมพัฒนาทักษะกำลังคนของประเทศ (Reskill/Upskill/Newskill) เพื่อการมีงานทำและเตรียมความพร้อมรองรับการทำงานในอนาคต” หลักสูตร ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (พีจีเอส)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 18/02/2565 - 28/02/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัญญ์พัสวี  กล่อมธงเจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายพงศ์กฤตน์  ภูริชพิสิฐกร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเช่ารถ (รถตู้) พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน x 2,500.- บาท x 10 วัน = 25,000.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
25,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก (วิทยากร) จำนวน 3 ห้อง x 800.- บาท x 12 คืน = 28,800.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
28,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 28,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่าสถานที่ จำนวน 1 ห้อง x 1,000.- บาท x 10 วัน = 10,000.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน x 35.- บาท x 2 มื้อ x 10 วัน = 24,500.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
24,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 35 คน x 150.- บาท x 1 มื้อ x 10 วัน = 52,500.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
52,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 52,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ภายใน) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คน x 600 บาท x 2 วัน ๆละ 6 ชม. = 7,200.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ภายใน) ภาคปฏิบัติ จำนวน 1 คน x 300 บาท x 4 วัน ๆ ละ 6 ชม. = 7,200.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ภายนอก) ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน x 1,200 บาท x 2 วัน ๆ ละ 3 ชม. = 14,400.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ภายนอก) ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน x 300 บาท x 2 วันๆ ละ 3 ชม. = 3,600.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร : สำหรับการสาธิต / ฝึก = 80,000.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
80,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 80,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ / ชุดตรวจ GT = 50,000.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน = 31,300.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
31,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 31,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ = 15,500.- บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
15,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 350000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมที่จำกัด และเป็นช่วงระบาดโควิด จึงต้องมีการจัดกิจกรรมที่ต้องดำเนินการตามมาตรการอย่างเคร่งคัด
วิทยากร การจัดหลักสูตรค่อนข้างกะทันหัน เวลาเตรียมการกระชันชิด ทำให้วิทยากร ไม่สามารถเตรียมการสอนได้ตามออกแบบไว้ บางรายไม่สามารถร่วมกิจกรรมได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
วางแผนและเตรียมการทั้งอุปกรณ์และเผื่อเวลาสำหรับ การตรวจเช็คร่างกายตามมาตรการ
ปรับ/สลับสับเปลี่ยนเวลา และจัดวิทยากรเพื่อให้เหมาะสมตามระยะเวลาของการจัดกิจกรรม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล