18190 : โครงการจัดทำฐานข้อมูลราคาสินค้าเกษตรเชียงใหม่รายวันเพื่อการพยากรณ์ ประจำปี 2565
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายยมนา ปานันท์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/3/2565 13:49:32
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/03/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย พ่อค้า แม่ค้า และประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มติที่ 2)) 2565 9,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ยมนา  ปานันท์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.8 จำนวนฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณชน
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.8.1 การจัดทำฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณะ
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.8 จำนวนฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณชน
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.8.1 การจัดทำฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณะ
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.8 จำนวนฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณชน
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.8.1 การจัดทำฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณะ
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.8 จำนวนฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณชน
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.8.1 การจัดทำฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณะ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ภาคการเกษตรเป็นภาคการผลิตที่มีการเปลี่ยนแปลงของผลผลิต และราคาอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้ราคาของผลผลิตในฤดูกาลผลิตที่ผ่านมานำมาวางแผนการผลิตในฤดูกาลถัดไป ซึ่งหากความผันผวนของราคาสูง และการถ่ายทอดราคาถูกบิดเบือนจะทำให้การวางแผนการผลิตผิดพลาด และเกษตรกรใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพและรายได้ของเกษตรกรในที่สุด แต่หากราคาสินค้าเกษตรมีการถ่ายทอดราคาอย่างสมบูรณ์ และมีเสถียรภาพทางราคา แม้จะอยู่ในระดับต่ำก็จะมีผลให้เกษตรกรได้รับประโยชน์อย่างมากในการตัดสินใจที่จะลดหรือขยายการผลิต การทราบถึงราคาผลผลิตทางการเกษตรที่เกษตรกรขายส่งให้กับพ่อค้า และราคาที่พ่อค้าขายปลีกให้แก่ผู้บ้ริโภค เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของราคาสินค้าทางการเกษตร เป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่ง ต่อการวางแผนการบริหารจัดการการผลิตสินค้าทางการเกษตรของเกษตรกรให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการวางแผนใช้จ่ายในการบริโภคของประชาชนทั่วไป ดังนัั้นศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร จึงได้ดำเนินงานจัดทำโครงการจัดทำฐานข้อมูลราคาสินค้าเกษตรเชียงใหม่รายวันเพื่อการพยากรณ์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลราคาสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่ สำหรับเผยแพร่ให้กับเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำข้อมูลดังกล่าวไปวางแผนการผลิตให้สอดคล้องเหมาะสมกับกลไกทางการตลาด อีกทั้งเพื่อช่วยเพิ่มทางเลือกให้แก่เกษตรกรในการตัดสินใจที่จะทำการลงทุนเพาะปลูกพืชผักชนิดต่างๆในพื้นที่ โดยเมื่อทำการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวแล้ว ในอนาคตจะใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อการคาดการณ์แนวโน้ม และพยากรณ์ราคาสินค้าทางการเกษตรต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลราคาสินค้าทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่ สำหรับเผยแพร่ให้กับเกษตรกร และประชาชนทั่วไป
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลราคาสินค้าทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่ สำหรับเป็นฐานข้อมูลในการวิจัยและการพยากรณ์ในอนาคต
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานข้อมูลราคาสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
KPI 1 : จำนวนฐานข้อมูลด้านการวิจัยที่เผยแพร่สู่สาธารณะ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานข้อมูล 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานข้อมูลราคาสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
การจัดทำฐานข้อมูลราคาสินค้าเกษตรเชียงใหม่รายวัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/03/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายยมนา  ปานันท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 120 ชุดๆละ 80 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,200.00 บาท 3,200.00 บาท 3,200.00 บาท 9,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 9600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การแพร่ระบาดของสถานการณ์โควิด - 19 ส่งผลกระทบต่อการเก็บข้อมูล เนื่องจากในบางครั้งตลาดปิดทำการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
หากช่วงไหนสถานการณ์โควิดรุนแรง ใช้วิธีการโดยการโทรศัพท์สัมภาษณ์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล