18158 : โครงการ 1 หลักสูตร 1 ผลิตภัณฑ์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.เขมินทรา ติ๊บปัญญา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/3/2565 11:55:43
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/03/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  บุคลากร นักศึกษา ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได่แก่ กลุ่มเครือข่าย เกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ศิษย์เก่า หน่วยงานเอกชน และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงิบงบประมาณเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ 2565 สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงาน บริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่2) 2565 120,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. พุฒิสรรค์  เครือคำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองชัย  จูวัฒนสำราญ
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65 AP การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65 AP รายได้จากการให้บริการวิชาการ
กลยุทธ์ 65 AP ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนด้านการเกษตรที่หลากหลาย และมีองค์คามรู้ด้านเกษตรสาขาต่างๆ เช่น พืชไร่ พืชสวนดินและปุ๋ย อารักขาพืช สมุนไพร เกษตรเคมีและการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร ซึ่งคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สำคัญ ในการเรียนการสอน และการทำวิจัย รวมทั้งการให้องค์ความรู้ต่อผู้ที่สนใจในเรื่องทางการเกษตร โดยการให้ความสนใจที่จะส่งเสริมให้บุตรหลานเข้ามาศึกษา และยังให้ความสนใจกับเรื่องทางการเกษตรมากยิ่งขึ้น รวมทั้งองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ได้ช่วยสนับสนุน และส่งเสริมที่จะให้เกษตรกรที่มีความสนใจทางด้านการเกษตรได้มีความรู้มากยิ่งๆขึ้น เพราะในคณะผลิตกรรมการเกษตรทุกหลักสูตร มีองค์ความรู้ทางด้านการบริการวิชาการที่สามารถทำให้เกษตรกรสามารถนำไปต่อยอดเพื่อเพิ่มรายได้ในการประกอบอาชีพ คณะผลิตกรรมการเกษตร ได้ดำเนินงานตามภารกิจหลัก ซึ่งการบริการวิชาการแก่สังคมเป็นหนึ่งในภารกิจหลักของคณะฯ โดยการบริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตร ได้เริ่มจัดตั้งฐานเรียนรู้การเกษตรขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2548 โดยผู้ช่วยผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ โดยรวบรวมผลงานวิจัยและประสบการณ์ของบุคลากรในคณะผลิตกรรมการเกษตร ออกมาเพื่อถ่ายทอดและบริการวิชาการในรูปแบบของฐานเรียนรู้ทางการเกษตร ในระยะแรกได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย(สกว.) ต่อมาทางมหาวิทยาลัยเล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงจัดสรรงบประมาณสนับสนุนให้แก่ฐานเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยจนถึงปัจจุปันการดำเนินงานของฐานเรียนรู้ที่มีความเข้มแข็งจนสามารถพัฒนาจากฐานขึ้นเป็นศูนย์ โดยฐานเรียนรู้การเกษตรได้ดำเนินการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเกษตร เพื่อบริการให้แก่นักศึกษา บุคคลากร เกษตรกรและผู้สนใจทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยมากมาย จากกิจกรรมต่างๆ ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน การบริการวิชาการแก่สังคมของคณะผลิตกรรมการเกษตรมีการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ขั้นตอน ระบบและกลไกลการขับเคลื่อนโดยมีความเชื่อมโยงกับการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งการนำองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานภายในและภายนอก เพื่อพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการวิชาการกับชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย งานบริการวิชาการ การเรียนการสอนของคณะ
2. เพื่อสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
3. เพื่อแหล่งฝึกทักษะการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า
4.เพื่อร่วมขับเคลื่อน แผนพัฒนาส่วนงาน มิติที่ 4 ข้อ 4.6 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกร ได้รับความรู้เทคนิคต่างๆจากการเข้าร่วมกิจกรรม ที่งานบริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตรได้จัดขึ้น และเข้าใจถึงการผลิต การจำหน่าย และการบริโภคอย่างเป็นระบบ สามารถนำไปประกอบเป็นอาชีพเสริมและทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
KPI 1 : จำนวนองค์ความรู้ที่ได้ถ่ายทอด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 เรื่อง 4
KPI 2 : จำนวนเครือข่ายด้านบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 แห่ง 2
KPI 3 : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ผลิตภัณฑ์ 4
KPI 4 : ร้อยละผลของการได้รับความรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ผลกระทบจากการให้บริการวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 คน 200
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลุ่มเกษตรกร ได้รับความรู้เทคนิคต่างๆจากการเข้าร่วมกิจกรรม ที่งานบริการวิชาการ คณะผลิตกรรมการเกษตรได้จัดขึ้น และเข้าใจถึงการผลิต การจำหน่าย และการบริโภคอย่างเป็นระบบ สามารถนำไปประกอบเป็นอาชีพเสริมและทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาผลิตภัณฑ์ 1 หลักสูตร 1 ผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิสรรค์  เครือคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.เขมินทรา  ติ๊บปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี  อารีศรีสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.นรินทร์  ท้าวแก่นจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ  พิลาดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประนอม  ยังคำมั่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 60000.00
ชื่อกิจกรรม :
กาดเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พุฒิสรรค์  เครือคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางอภิชนา  วงศ์วารเตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.เขมินทรา  ติ๊บปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,050.00 บาท 15,050.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเครื่องเสียงจำนวน 7 วันๆ ละ 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 27,550.00 บาท 27,550.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,400.00 บาท 3,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 60000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สถานะการณ์โควิด และการจำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมงาน
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนา บางผลิตภัณฑ์ยังไม้ได้คุณภาพ
งบประมาณที่มีอย่างจำกัดส่งผลให้คุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ออกมายังไม่ได้มาตรฐาน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดแบบออนไลน์ควบคู่กับออนไซด์
สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล