18124 : โครงการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม (65-2.1.4)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/1/2565 14:55:57
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  10  คน
รายละเอียด  คณาจารย์หลักสูตร และคณาจารย์ของคณะ ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนเพื่อการศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2565 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แทนวุธธา  ไทยสันทัด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.15 สร้างและพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยในทุกๆพันธกิจ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.17 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างความเป็นผู้ประกอบการ เช่นการสร้าง Learning Space และ Working Space เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.2(64-68)-FAED การพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ และสำเร็จการศึกษาตามแผนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด 2.7FAED65 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตัวชี้วัด 2.8FAED65 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องจากตั้งแต่ปีการศึกษา1/63 ได้ปรับปรุงหลักสูตรเข้าสู่การประเมินผลในระบบAUN QA โดยนำความเห็นจากการประเมินข้อมูลสถิติและแบบสอบถามจากผู้ใช้บัณฑิตมาเพื่อประกอบการทำโครงการ โดยทักษะที่ต้องการพัฒนาประกอบด้วยการวิจัยและคิดเชิงนวัตกรรม การเป็นผู้ประกอบการ การนำเสนอผลงาน ทักษะภาษาต่างประเทศ และการเขียนบทความวิชาการทางด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นองค์ประกอบในการสำเร็จการศึกษา จนถึงปีการศึกษาที่1/65 หลักสูตรได้รับข้อมูลจากการประเมินผลการประกันคุณภาพระดับระดับหลักสูตรกลับมาพิจารณา พบผลกระทบจากสภาวการณ์ที่เปลี่ยนไปจากภายนอกทางด้านเศรษฐกิจและการระบาดของโควิด19 แนวโน้มการศึกษาระดับบัณฑิตวิทยาลัยที่มีจำนวนลดลง ตลาดแรงงานมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งในระยะอันใกล้กำลังเข้าสู่กระบวนการวิพากษ์และพัฒนาหลักสูตรตามรอบอีกครั้งหนึ่ง ด้วยเหตุผลข้างต้น หลักสูตรจึงจัดทำโครงการเพิ่มเติมเพื่อระดมความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) ของหลักสูตรถึงการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันท่วงที ในรูปแบบสัมมนาออนไลน์ร่วมกันของผู้บริหารอาจารย์ผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษา ศิษย์เก่า และผู้ทรงคุณวุฒิ ในลักษณะการสัมมนาในรายวิชา สว4 593 สัมมนา3 และ สว594 สัมมนาในประเด็นเรื่อง - การพัฒนาหลักร่างสูตรปริญญาโท-เอก ในรูปแบบทั้ง OnlineและOnsiteในรายวิชาย่อยที่ได้รับความนิยมของตลาดของตลาดในศต.ที่21 - การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ STEM Education(Science, Technology, Engineering, and Mathematics) ให้สอดคล้องกับการสร้างนวัตกรรมตามความต้องการกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ทั้งรูปแบบของงานวิจัยและผลผลิตทางลิขสิทธิ์ปัญญาและสิทธิบัตร -เพิ่มศักยภาพการเรียนรู้นักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย นวัตกรรม และภาษาต่างประเทศ ที่เกี่ยวกับการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อมในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
การพัฒนาหลักสูตรปริญญาเอก ในรายวิชาที่สัมพันธ์กับทักษะความต้องการของตลาดในศต.ที่21
การจัดทำร่างหลักสูตรปริญญาเอกที่เกี่ยวข้อง ต่อยอดจากหลักสูตรออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อมเดิม
เพิ่มศักยภาพการเรียนรู้นักศึกษาในรูปแบบ STEM Education (Science, Technology, Engineering, and Mathematics)
เพิ่มศักยภาพการเรียนรู้นักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย นวัตกรรม และภาษาต่างประเทศ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 2 : ร้อยละของนักศึกษามีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักศึกษาหลักสูตรการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาหลักสูตรการออกแบบและวางแผนสิ่งแวดล้อม ดังนี้
1.การพัฒนาหลักสูตรปริญญาเอก ในรายวิชาที่สัมพันธ์กับทักษะความต้องการของตลาดในศต.ที่21
2.การจัดทำร่างหลักสูตรปริญญาเอกที่เกี่ยวข้อง ต่อยอดจากหลักสูตรออกแบบวางแผนสิ่งแวดล้อมเดิม
3.เพิ่มศักยภาพการเรียนรู้นักศึกษาในรูปแบบ STEM Education (Science, Technology, Engineering, and Mathematics)
4.เพิ่มศักยภาพการเรียนรู้นักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย นวัตกรรม และภาษาต่างประเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แทนวุธธา  ไทยสันทัด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธุ์ระวี  กองบุญเทียม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัชวิชญ์  ติกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล