18021 : โครงการ Well-being@Chumphon
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
อาจารย์ ดร.ฐิระ ทองเหลือ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2565 21:31:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2565  ถึง  28/02/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  1.บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีการบูรณาการเพื่อพัฒนาโครงการงานบริการวิชาการ 2.นักเรียนนักศึกษาศึกษาดูงาน 3. ประชาชนทั่วไป ได้เรียนรู้ผ่านการกระบวนการศึกษาดูงานการอบรม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรับฝาก / เงินบริจาค / เงินสนับสนุนงบประมาณศูนย์เกษตรสุขภาวะ (Well-being Agriculture Center) 2565 36,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ฐิระ  ทองเหลือ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. บุญศิลป์  จิตตะประพันธ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.1 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.1.1 การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 1.4 มีต้นแบบความสำเร็จของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 3 วิทยาเขตEco Community & Tourism
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 1.10 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumporn
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 1.4.3 สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการท่องเที่ยวต้นแบบแห่งชายฝั่งทะเลตะวันออก
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.20 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.5 พัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ต้นแบบที่ครบคลุมห่วงโซ่คุณค่า เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ ศัตรูพืช มาตรฐาน ประมง ปศุสัตว์ พืช ฟาร์มต้นแบบเกษตรยั่งยืน การแปรรูป ตลาด ฯลฯ ให้มีศักยภาพ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 1.1 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 1. การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 1.3 มีต้นแบบความสำเร็จของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ทั้ง 3 วิทยาเขต Eco Community & Tourism
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumporn
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 4. สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และการท่องเที่ยวต้นแบบแห่งชายฝั่งทะเลตะวันออก
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.3.3 จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 39. ผลักดันการสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านการให้บริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ด้วยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แม่โจ้ ๑๐๐ ปี ภายใต้โครงการ Well-being@Chumphon ตั้งแต่ปลายปี 2560 เป็นต้นมา โดยเริ่มจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร พร้อมทั้งมีการพัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์เพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาเกษตรสุขภาวะ (Well-being Agriculture ) โดยได้มีการปลูกไม้ผล พืชผักสมุนไพร พืชกระท่อม พร้อมทั้งกำลังดำเนินการ พัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ในรูปแบบของ Smart organic farm ) ผ่านการร่วมมือร่วมใจของบุคลกรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และบุคลากรภายนอก ผ่านการจัดตั้งศูนย์เกษตรสุขภาวะ (Well-being Agriculture Center) เพื่อพัฒนาโครงการต่างๆ ที่จะขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ผ่านการพัฒนาโครงการความร่วมมือต่างๆ พร้อมทั้งได้ดำเนินการขอนบับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอก โครงการ Well-being@Chumphon เป็นโครงการต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาต่อยอดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ๑๐๐ ปี ผ่านการบูรณาการระหว่างบุคลากรภายในและภายนอก เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ และองค์ความรู้ และการวิจัย พร้อมทั้งพัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้สามารถต่อยอดสู่เกษตรสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ คือการผลิค การรับรองมาตรฐาน การแปรรูปและการตลาด รวมทั้งการบริหารเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ และต่อยอดสู่นวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ (Organic Innovation) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงและพัฒนาเครือข่ายของเกษตรสุขภาวะ ให้สามารถพัฒราคุณภาพชีวิตของประชาชนของภูมิภาคต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
7.1 พัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้เป็นต้นแบบในการศึกษาดูงานของประชาชาชนทั่วไป
7.2.พัฒนาพัฒนาต่อยอด การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ๑๐๐ ปี ให้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง
7.3.เพื่อบูรณาการบุคลการภายในและภายนอกเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกิดการพัฒนาต่อยอดการพัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมศูนย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 3 : จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
ผลผลิต : การพัฒนาต่อยอดโครงการ Well-being @ Chumphon
KPI 1 : ศูนย์เกษตรสุขภาวะภายใต้โครงการ Well-being @ Chumphon
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ศูนย์ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกิดการพัฒนาต่อยอดการพัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ให้เป็นแปลงต้นแบบเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2565 - 28/02/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ฐิระ  ทองเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาคนงานเกษตร จำนวน 2 คนๆ ละ 2 เดือนๆ ละ 9,000 บาท เป็นเงิน 36,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 36,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 36000.00
ผลผลิต : การพัฒนาต่อยอดโครงการ Well-being @ Chumphon
ชื่อกิจกรรม :
มีการพัฒนาเครือข่ายด้านเกษตรสุขภาวะไปสู่ภูมิภาค

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2565 - 28/02/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ฐิระ  ทองเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1.สภาพดินฟ้าอากาศ เช่น มรสุมส่งผลกระทบกับการเจริญเติบโตของพืช
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. พยายามวางระบบทั้งสองรูปแบบ แบบฟาร์มเปิดและฟาร์มปิด Organic smart farm
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบูรณาการการเรียนการสอน วิชา กช.321 เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ช่วงเวลา : 01/01/2565 - 28/02/2565
ตัวชี้วัด
3.1 ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
ร้อยละของนักศึกษามีประสบการณ์จากการเรียนรู้นอกห้องเรียน 80 นำผลการประเมินไปปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนวิชา กช.321
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล