17999 : โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ชุมพล อังคณานนท์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/1/2565 11:14:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  อาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ, นักศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตร์และบุคลากรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากโครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 3) 2565 11,448.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ชุมพล  อังคณานนท์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. บุญศิลป์  จิตตะประพันธ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการต่างประเทศ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือที่ลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 3.3 จำนวนกิจกรรมกับต่างชาติตามความร่วมมือ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 3.1.4 จัดหลักสูตรพัฒนาบุคลากรชาวต่างชาติ ทั้งในรูปแบบการฝึกอบรมระยะสั้น ระยะยาว และการศึกษาดูงาน โดยเฉพาะกลุ่มประเทศเป้าหมาย เช่น อาเซียน จีน ไต้หวัน ภูฏาน และไนจีเรีย เป็นต้น
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 3.1 มีเครือข่ายความร่วมมือลงสู่การปฏิบัติจริงในทุกกิจกรรมตามพันธกิจ และมีผลสำเร็จในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:3.1.1 จำนวนกิจกรรมกับต่างชาติตามความร่วมมือ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 49. จัดหลักสูตรพัฒนาบุคลากรชาวต่างชาติ ทั้งในรูปแบบการฝึกอบรมระยะสั้น ระยะยาว และการศึกษาดูงาน โดยเฉพาะกลุ่มประเทศเป้าหมาย เช่น อาเซียน จีน ไต้หวัน ภูฏาน และไนจีเรีย เป็นต้น
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเรียนการสอนในปัจจุบันนี้ ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงความเป็นนานาชาติไม่ได้ เนื่องจากการร่วมกลุ่มของประเทศต่างๆ เพื่อทำกิจกรรมกัน ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม และที่สำคัญที่สุดคือความร่วมมือด้านด้านการศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทาง นโยบายของแต่ละประเทศมากยิ่งขึ้น เพราะความแตกต่างในทุกๆ ด้านของแต่ละประเทศ ดังนั้นการเรียนการสอนในสาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้จัดการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาในด้านความรู้ความเข้าใจในกระบวนวิชาทั้งในทางทฤษฏี และในเชิงประจักษ์ เช่น วิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิชาทฤษฏีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิชาอาเซียนในบริบทและภูมิภาคของโลก วิชาเหตุการณ์โลกและสภานการณ์ปัจจุบัน เป็นต้น จึงเป็นโอกาสดีที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้ในเชิงประจักษ์ โครงการเสริมสร้างความรู้แก่นักศึกษารัฐศาสตร์จึงเกิดขึ้น นอกจากนั้นยังเป็นการพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ผู้สอน ในด้านความร่วมมือทางวิชาการระดับนานาชาติ เพื่อเปิดมุมมอง แนวคิด และหลักวิชาการต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ให้ให้เข้ากับบริบทของประเทศไทย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแก่นักศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
เพื่อสร้างความร่วมมือ พัฒนาศักยภาพคณาจารย์ด้านการเรียนการสอน การวิจัย แลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษาในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : มีสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรกับมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน เช่น มาเลเซีย และอินโดนิเซีย เป็นต้น
KPI 1 : จำนวนข้อตกลงสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร กับมหาวิทยาลัยจากต่างประเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ฉบับ 2
ผลผลิต : นักศึกษามีความเข้าใจในด้านการเมืองการปกครองของกลุ่มประเทศอาเซียน รวมถึงภาษาและวัฒนธรรมประเพณี จากการบรรยายพิเศษโดยวิทยากร
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมบรรยาย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาการจากผู้ทรงคุณวุฒิ ในประเทศ / ต่างประเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : มีสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรกับมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน เช่น มาเลเซีย และอินโดนิเซีย เป็นต้น
ชื่อกิจกรรม :
ลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรกับมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน เช่น
Hasanuddin University , Universitas Sulawesi Barat, Republic of Indonesia , Universiti Utara Malaysia

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ชุมพล  อังคณานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อนิรุต  หนูปลอด (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อรวรรณ  อินสตูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ฉันทวรรณ  เอ้งฉ้วน (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ตรีชฎา  สุวรรณโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเดินทาง (รับ-ส่ง) วิทยากร จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 906 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 7,248 บาท
2. ค่าของที่ระลึก จำนวน 4 ชิ้น ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
3. ค่าที่พัก จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 คืน ๆ ละ 800 บาท
เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,448.00 บาท 0.00 บาท 11,448.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 11448.00
ผลผลิต : นักศึกษามีความเข้าใจในด้านการเมืองการปกครองของกลุ่มประเทศอาเซียน รวมถึงภาษาและวัฒนธรรมประเพณี จากการบรรยายพิเศษโดยวิทยากร
ชื่อกิจกรรม :
บรรยายพิเศษโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ในประเทศ / ต่างประเทศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ชุมพล  อังคณานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อนิรุต  หนูปลอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สถานการณ์ Covid-19
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปรับรูปแบบการจัดกิจกรรมและการดำเนินงานตามความเหมาะสม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การเมืองการปกครองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ช่วงเวลา : 01/10/2564 - 30/09/2565
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล