17905 : โครงการขับเคลื่อนการยกระดับศักยภาพและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่ ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/2/2565 20:11:33
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร/สมาชิกกลุ่มอาชีพ/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไปในพื้นที่ตาบลป่าไผ่ จานวน 30 ราย
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งาบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรชัย  กังวล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงสภาวการณ์วิกฤตเศรษฐกิจโลกทำให้ประเทศต่าง ๆ หันมาให้ความสำคัญกับการแก้ไข ปัญหาด้านเศรษฐกิจ มีการยกระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจกันมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดความร่วมมือของกลุ่มประเทศต่าง ๆ ที่มีบริบทคล้ายกันในการรวมกลุ่มเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับระบบ เศรษฐกิจระดับภูมิภาค สำหรับกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ได้รวมกันเป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2510 และได้กำหนดทิศทางความ ร่วมมือที่แน่ชัดที่จะต้องเดินไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นเพียงหนึ่งในสามเสาหลักของประชาคมอาเซียนภายใต้ กฎบัตรอาเซียนความร่วมมือกันดังกล่าวถือเป็น แนวทางหนึ่งที่น่าจะสามารถช่วยในการพัฒนเศรษฐกิจได้ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้เพราะในระบบเศรษฐกิจต่าง ๆ แต่ละพื้นที่มีกลุ่มอาชีพ รวมทั้งกลุ่มธุรกิจชุมชนอยู่เป็นจำนวนมาก กระจายอยู่ทั่วประเทศและกำลังมีแนวโน้มเติบโตมากขึ้นทุกปี อีกทั้งรัฐบาลไทยในปัจจุบันให้ความสำคัญ และสนับสนุนในการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผนวกกับการเข้าร่วมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จึงมีนโยบายให้ความสำคัญกับกลุ่มอาชีพสู่การเป็นวิสาหกิจชุมชนมากขึ้น เนื่องจากมีบทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศด้านการสร้างงานใหม่เพิ่มการแข่งขันสามารถเชื่อมโยงกับวิสาหกิจขนาดใหญ่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในอนาคต อีกทั้งรัฐบาลมองเห็นแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนจึงได้มีการจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจัดตั้งขึ้น ภายใต้พระราชบัญญัติวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2543 ในฐานะหน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่สำหรับเสนอแนะส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งเป็นศูนย์กลางประสานระบบการทำงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมีความสอดคล้องกันละดาเนินการไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นธุรกิจของชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งที่มุ่งในการยกระดับรายได้ชีวิตความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนหรือเกษตรกรในชนบทที่เป็นกลุ่มคนส่วนใหญ่ของประเทศ แต่กลับเป็นกลุ่มคนที่ยากจนที่สุดของประเทศ หากกลุ่มคนในชุมชนหรือเกษตรกรเหล่านี้มีรายได้สูงขึ้น จะส่งผลกระทบด้านบวกต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยในการประกอบธุรกิจชุมชนจะมุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนส่งเสริมให้เกิดเศรษฐกิจชุมชนแบบพึ่งตนเองได้โดยผ่านการพัฒนาเพื่อยกระดับความเข็มแข็งของกลุ่มอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถดำเนินการได้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัตถุดิบภายในท้องถิ่น นามาแปรรูปอาหารจากเกษตรกรในชุมชนที่มีเวลาว่างจาการทาการเกษตร โดยมีการจัดการจากคนในชุมชน เพื่อคนในชุมชนช่วยกันวางแผนและตั้งเป้าหมายในแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง ทั้งนี้ยังเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งในภาคชนบทนั้น ๆ ด้วย ดังนั้น โครงการบริการวิชาการภายใต้การขับเคลื่อนงานบริการวิชาการสู่ชุมชน (Sansai Development Model) การยกระดับความเข็มแข็งของกลุ่มอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในอาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนในพื้นที่อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และนำไปสู่การจัดตั้งธุรกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ รวมไปถึงวิสาหกิจชุมชนจึงเป็นทางเลือกที่สาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาพรวมของประเทศได้ในอนาคต จากผลการสำรวจของโครงการขับเคลื่อนงานบริชาการวิชาการสู่ชุมชน เมื่อปี พ.ศ.2563 พบว่า ในพื้นที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีความต้องการผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตรให้มีอัตลักษณ์เป็นขอตนเอง ซึ่งในปี 2562 และในปี 2563 คณะทีมบริการวิชาการจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ดาเนินการเข้าไปถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูป ในพื้นที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งยังพบว่า ทางกลุ่มเกษตรกรยังประสบปัญหาในด้านการบริหารจัดการกลุ่ม แนวทางการจัดสรรผลประโยชน์เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในพื้นที่ ดังนั้นจึงได้มีการจัดโครงการบริการวิชาการดังกล่าว เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรในชุมชน โดยจัดโครงการการยกระดับความเข็มแข็งของกลุ่มอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นไปตามความต้องการของสมาชิกในชุมชน อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีความต้องได้รับความรู้จากการจัดโครงการบริการวิชาการจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ อาทิเช่น พื้นที่เทศบาลตำบลป่าไผ่ ซึ่งพื้นที่นำร่องในเรื่องการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร โดยข้อมูลทั่วไป เป็นชุมชนใกล้เคียงกับพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งอาชีพของสมาชิกชุมชนโดยส่วนใหญ่ คือ การทำเกษตรกรรรม พืชที่เพาะปลูกในพื้นที่ส่วนใหญ่ ได้แก่ มันฝรั่ง กล้วย และข้าวไรซ์เบอรี่ ที่ผ่านมาพบว่าเกิดปัญหาและอุปสรรคในเรื่องขาดการต่อยอดในการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และความรู้ในการบริหารจัดการธุรกิจชุมชน ดังนั้น ภายใต้โครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะเศรษฐศาสตร์จึงเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เกษตรกรสู่การเป็นวิสาหกิจชุมชนในอนาคตภายใต้ศักยภาพความรู้ความสามารถรวมถึงการมองเห็นคุณค่าของตนเอง ซึ่งในปีปัจจุบันคาดว่าผลการดำเนินงานในโครงการบริการวิชาการครั้งนี้สู่การเพิ่มมูลค่าผลผลิตในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และยกระดับความเข็มแข็งของกลุ่มอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายภารกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างรู้คุณค่า ที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศทางการเกษตร และเป็นแหล่งถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี อีกทั้งสอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรนาแปลงใหญ่ในชุมชนอย่างแท้จริง สามารถสร้างรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิต ทำให้เกษตรกรมีรายได้ที่เพิ่มขึ้น โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในสภาวการณ์เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอย่างเป็นพลวัตร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาความรู้วิธีการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระบรมวงศานุวงศ์
เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่สู่การเป็นวิสาหกิจชุมชนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกร/สมาชิกกลุ่มอาชีพ/กลุ่มวิสาหกิจชุมชนความรู้วิธีการเพิ่มมูลค่ายกระดับศักยภาพและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้สามารถสร้างรายได้ที่สูงขึ้น
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : สนับสนุนงานด้านการเรียน การสอนในคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 วิชา 1
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 4 : ค่าเฉลี่ยระดับความรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
KPI 7 : ระดับความรู้วิธีการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : เครือข่ายการดำเนินงานร่วมกันในโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เครือข่าย 1
KPI 10 : ระดับความรู้กระบวนการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่สู่การเป็นวิสาหกิจชุมชนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 11 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกร/สมาชิกกลุ่มอาชีพ/กลุ่มวิสาหกิจชุมชนความรู้วิธีการเพิ่มมูลค่ายกระดับศักยภาพและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้สามารถสร้างรายได้ที่สูงขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการวิธีการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.สุรชัย  กังวล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 35 บาท จำนวน 4 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,900.00 บาท 0.00 บาท 4,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 100 บาท จำนวน 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ปากกา แฟ้มใส เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,600.00 บาท 0.00 บาท 4,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 คน ๆละจำนวน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 26100.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่สู่การเป็นวิสาหกิจชุมชนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.สุรชัย  กังวล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 35 บาท จำนวน 4 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,900.00 บาท 0.00 บาท 4,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คน ๆ ละ 100 บาท จำนวน 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 8 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 คนๆละ จำนวน 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ปากกา คลิปหนีบกระดาษ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ยังรุนแรง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ก่อนเข้าร่วมโครงการ และจัดกิจกรรมภายใต้มาตรการการป้องกันโควิด-19
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
รภัสสรณ์-คงธนาจารุอนันต์.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล