17891 : โครงการศึกษาหาสารให้กลิ่นรสในมะเกี๋ยงเพื่อการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/12/2564 14:52:43
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
06/01/2565  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  ประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2565 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิชญาพร  อายุมั่น
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.1 กำหนดยุทธศาสตร์การบริการวิชาการ และพัฒนาโครงการที่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ภูมิภาค นโยบายรัฐบาล ตอบสนองการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาพื้นที่
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-3. เป็นศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการแก่สังคม
เป้าประสงค์ 65-3.1 การเป็นสถาบันที่ประชาชนพึ่งพาได้และมีส่วนร่วมในการยกระดับการพัฒนาความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตของชุมชน
ตัวชี้วัด 65-3.1.8 จำนวนโครงการสนองงานในพระราชดำริ/โครงการอพสธ /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ 65-3.1.8.1 บูรณาการโครงการพระราชดำริกับพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มะเกี๋ยง (Cleistocalyx operculatus var. Paniala) เป็นไม้ผลยืนต้นพื้นเมืองทางภาคเหนือ ปลูกในบางพื้นที่ตามบ้านเรือนในเขตภาคเหนือ เมื่อมีการตัดโค่นตามสภาพบ้านเมืองที่เจริญขึ้นทําให้จํานวนต้นมะเกี๋ยงมีแนวโน้มลดลงจนใกล้หมดไป ทําให้ทางโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ได้ให้ความสําคัญและจัดทําเป็นพืชนําร่องในการวิจัยและพัฒนาตั้งแต่ พ.ศ.2537 ซึ่งได้ดําเนินการอนุรักษ์โดยรวบรวมมะเกี๋ยงในพื้นที่ต่าง ๆ มาเก็บรักษาไว้และศึกษาการใช้ประโยชน์จนทําให้มะเกี๋ยงเริ่มเป็นพืชที่มีศักยภาพในการนําไปใช้ประโยชน์เชิงอุตสาหกรรมโดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลายชนิด เช่น น้ำมะเกี๋ยง ไวน์ เนคต้า แยม มะเกี๋ยงดอง มะเกี๋ยงแช่อิ่มแห้ง มะเกี๋ยงหยี ชามะเกี๋ยง เป็นต้น (นิอรและคณะ, 2539) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้ปลูกและอนุรักษ์พันธุ์พืชมะเกี๋ยง ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติได้ดำเนินการปลูกและดูแลมะเกี๋ยง โดยขยายพื้นที่ทุกๆ ปี ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ทางมหาวิทยาลัยฯ ยังมีงานวิจัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงเพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์ เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยงหยี แยม และน้ำมะเกี๋ยง ก่อให้เกิดการกระจายรายได้สู่ชุมชนจากพืชมะเกี๋ยง ทั้งการรับซื้อผลมะเกี๋ยงจากชุมชน การจ้างงานด้านการแกะผลมะเกี๋ยงสำหรับนำมาทำผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นการสร้างต้นแบบการใช้ประโยชน์ และการสร้างมูลค่าของผลมะเกี๋ยง แก่เกษตรกรและชุมชนรอบมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าผลิตภัณฑ์จากมะเกี๋ยงยังไม่เป็นที่นิยมในกลุ่มผู้บริโภคมากนัก เนื่องจากมะเกี๋ยงมีกลิ่นเฉพาะตัวทำให้ผู้บริโภคบางคนไม่คุ้นเคย ซึ่งกลิ่นหอมและรสชาติถือเป็นคุณสมบัติที่สำคัญเกี่ยวข้องกับการบริโภค และเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์จากมะเกี๋ยงนอกจากคุณค่าทางโภชนาการ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีใครศึกษาถึงองค์ประกอบของกลิ่นหอมในผลมะเกี๋ยงเพื่ออธิบายกลิ่นและรสชาติอันเป็นเอกลักษณ์ดังกล่าว นอกจากนี้ยังพบว่าองค์ประกอบของกลิ่นรสที่แตกต่างกันในผลมะเกี๋ยงจะแตกต่างกันในแต่ละพันธุ์และพื้นที่ปลูก ดังนั้นงานวิจัยครั้งนี้จึงต้องการศึกษากลิ่นและรสในผลมะเกี๋ยงด้วยเทคนิคโคมาโทกราฟีซึ่งมีความถูกต้องแม่นยำและน่าเชื่อถือ จะสามารถอธิบายคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพในการบริโภคมะเกี๋ยง โดยเป็นข้อมูลและทางเลือกให้ผู้บริโภคสามารถตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จากมะเกี๋ยง อีกทั้งเป็นแนวทางในการปรับปรุงพันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์มะเกี๋ยงในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ถูกต้องตรงตามความต้องการต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2 เพื่อวิเคราะห์ชนิดของกลิ่นในผลมะเกี๋ยงด้วยโครมาโทกราฟี (chromatography)
3 เพื่อวิเคราะห์คุณสมบัติทางสเปคตรัม (spectrum) ของสสารร่วมกับเทคนิคทางโครมาโทกราฟีในการแยกแยะองค์ประกอบของสาร ซึ่งจะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้สร้างนวัตกรรมทางอาหารต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการศึกษาหาสารให้กลิ่นรสในมะเกี๋ยงเพื่อการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 2 : งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200000 บาท 200000
KPI 3 : ผู้บริโภคมีการรับรู้ที่ดีเกี่ยวกับกลิ่นของมะเกี๋ยงและผลิตภัณฑ์มะเกี๋ยง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 4 : ชนิดและปริมาณของกลิ่นสำคัญในผลมะเกี๋ยงอันมีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 2 1 ชนิด 5
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามกำหนดเวลา
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ihvp]t 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการศึกษาหาสารให้กลิ่นรสในมะเกี๋ยงเพื่อการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
ชื่อกิจกรรม :
ดำเนินการเก็บรวบรวมผลมะเกี๋ยงจากพื้นที่ปลูกต่างๆ ในแถบภาคเหนือตอนบน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญาพร  อายุมั่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ตาข่าย ตะกร้า ไม้เก็บผลไม้ ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 3000.00
ชื่อกิจกรรม :
ดำเนินการวิเคราะห์ชนิดและปริมาณของกลิ่นสำคัญในผลมะเกี๋ยงอันมีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญาพร  อายุมั่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ชนิดและปริมาณของกลิ่นสำคัญในผลมะเกี๋ยง เป็นเงิน 100,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 100,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
ชื่อกิจกรรม :
ดำเนินการวิเคราะห์คุณสมบัติทางสเปคตรัม (spectrum) ของสสารร่วมกับเทคนิคทางโครมาโทกราฟีในการแยกแยะองค์ประกอบของสารในผลมะเกี๋ยง เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้สร้างนวัตกรรมทางอาหาร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญาพร  อายุมั่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น เครื่องแก้ว สารเคมี ฯลฯ เป็นเงิน 58,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 58,000.00 บาท 0.00 บาท 58,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 58000.00
ชื่อกิจกรรม :
การสร้างการรับรู้เกี่ยวกับกลิ่นรสในมะเกี๋ยงให้กับผู้บริโภค

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญาพร  อายุมั่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายธวัชชัย  ชัยธวัชวิถี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ150 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์พร้อมขาตั้ง จำนวน 1 ชุด ๆ ละ 1,400 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,900.00 บาท 0.00 บาท 6,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปรายเสวนา (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 2,700 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ฯ เช่น เครื่องแก้ว สารเคมี เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงดำ น้ำยาล้างจาน ฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,700.00 บาท 0.00 บาท 17,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 39000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล