17885 : โครงการประชุมวิชาการระดับชาติด้านภูมิสถาปัตยกรรม ครั้งที่ 5 "ปรกติที่ปรารถนา (Expected Normal)" (ุ65-2.1.10)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/1/2565 16:40:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/12/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ นักวิจัย บุคลากร นิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ภูมิสถาปนิกและสาขาที่เกี่ยวข้อง บุคลากรภาครัฐ ผู้ประกอบการ เอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณจากภายนอก 2565 5,000.00
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนเพื่อการศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2565 55,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ทำเนียบ  อุฬารกุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ศิริชัย  หงษ์วิทยากร
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.7 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.13 ทบทวนรูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.14 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.15 สร้างและพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยในทุกๆพันธกิจ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.8 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.1.17 ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนานักศึกษาเพื่อสร้างความเป็นผู้ประกอบการ เช่นการสร้าง Learning Space และ Working Space เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับนักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.2(64-68)-FAED การพัฒนานักศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ และสำเร็จการศึกษาตามแผนอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด 2.7FAED65 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตัวชี้วัด 2.8FAED65 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-2.2.5(64-68) ผลักดันและส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะเข้าโครงการ/กิจกรรมด้านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ครอบคลุมทุกด้าน
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2562 เป็นต้นมา ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิงและฉับพลัน มนุษย์ต้องเผชิญหน้ากับวิกฤตในทุกด้าน ทั้งทางด้านสุขภาพกาย ใจ ทางด้านเศรษฐกิจความเป็นอยู่ และด้านสังคมการเมือง อย่างไรก็ดีสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้ต้องหยุดคิดเพื่อทบทวนถึงวิถีชีวิตที่ผ่านมาและที่จะเกิดขึ้นต่อไป ว่าจะดำเนินต่อไปเช่นไรจึงจะเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างที่ทั่วโลกปรารถนา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ในฐานะผู้แทนของภาคีวิชาการภูมิสถาปัตยกรรม 9 สถาบัน ร่วมกับสมาคมภูมิสถาปนิกแห่งประเทศไทย จึงได้จัดการประชุมวิชาการภูมิสถาปัตยกรรม ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “ปรกติที่ปรารถนา (Expected Normal)” ขึ้น เพื่อเป็นเวทีในการนำเสนอผลการศึกษาวิจัย การแลกเปลี่ยนแนวความคิด ทั้งในด้านวิชาการและการปฏิบัติวิชาชีพ เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น และเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทั้งในภาควิชาการ ภาคปฏิบัติในวิชาชีพ ตลอดจนการประกอบการของสำนักงานออกแบบ และ/หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง อันจะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นการสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการด้านภูมิสถาปัตยกรรมและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องในระดับชาติ ของอาจารย์ นักวิจัย นิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ศิษย์เก่า ผู้ประกอบวิชาชีพ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับงานภูมิสถาปัตยกรรม ทั้งในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และอื่น ๆ
เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดเห็น ของอาจารย์ นักวิจัย นิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ศิษย์เก่า ผู้ประกอบวิชาชีพ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับงานภูมิสถาปัตยกรรม ทั้งในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และอื่น ๆ
เพื่อสร้างและ/หรือส่งเสริมกิจกรรมของเครือข่ายระดับชาติทางด้านวิชาการภูมิสถาปัตยกรรมและสาขาที่เกี่ยวข้อง
เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้แก่นิสิตนักศึกษา
เพื่อร่วมกับสมาคมวิชาชีพในการพัฒนาผู้ประกอบการในวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมและสาขาที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการประชุมวิชาการด้านภูมิสถาปัตยกรรม
KPI 1 : จำนวนกิจกรรมประชุมวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กิจกรรม 1
KPI 2 : จำนวนบุคลากรและนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมและอุตสาหกรรมก่อสร้างภูมิทัศน์ (ผู้นำเสนอผลงาน/ผู้ให้ความเห็น/ฯลฯ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 คน 2
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม (ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21,กิจกรรมการสร้างความเป็นผู้ประกอบการในวิชาชีพ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการประชุมวิชาการด้านภูมิสถาปัตยกรรม
ชื่อกิจกรรม :
2.1.10.1 กิจกรรมการบรรยายพิเศษ การนำเสนอผลงานวิจัย/บทความวิชาการ ภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ และการแสดงนิทรรศการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/12/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรัสพิมพ์  บุญญานันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ทำเนียบ  อุฬารกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 25 บาท x 50 คน x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (จำนวน 120 บาท x 50 คน x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าลิขสิทธิ์ระบบประชุมออนไลน์ Zoom Event
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร
(ชั่วโมงละ 1,200 บาท จำนวน 1 ชั่วโมง 30 นาที x 2 คน x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตรวจผลงานทางวิชาการ
(จำนวน 300 บาท x 12 เรื่อง x 1 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าป้ายประชาสัมพันธ์และตกแต่งสถานที่
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าจัดพิมพ์เอกสารบทคัดย่อ (จำนวน 50 เล่ม x 150 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
28,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าสาธารณูปโภค 10% (5,000 บาท x 10%)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าสาธารณูปโภค
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 60000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล