17827 : โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการสกัดสมุนไพรในการสร้างผลิตภัณฑ์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
อาจารย์นาตาลี อาร์ ใจเย็น (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/12/2564 12:02:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษาและ ประชาชนที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณภายใต้โครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ นาตาลี อาร์  ใจเย็น
อาจารย์ ดร. ชรินทร  ศรีวิฑูรย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.3.1 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 37. พัฒนาองค์ความรู้และผลักดันสู่การยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.3.4 ชุมชนที่ได้รับการยกระดับจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 40. ผลักดันให้มีการพัฒนาองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี/ให้บริการวิชาการจากมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จาก วิกิพีเดีย (2563) กล่าวถึง สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และแร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำรับยา เพื่อบำบัดโรค บำรุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ" หากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตำรับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น ในพระราชบัญญัติยาฉบับที่ 3 ปีพุทธศักราช 2522 ได้แบ่งยาที่ได้จากเภสัชวัตถุนี้ไว้เป็น 2 ประเภทคือ 1. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบำบัดโรคของสัตว์ 2. ยาสมุนไพร หมายถึงยาที่ได้จากพืชสัตว์แร่ธาตุที่ยังมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพสมุนไพรนอกจากจะใช้เป็นยาแล้ว ยังใช้ประโยชน์เป็นอาหาร ใช้เตรียมเป็นเครื่องดื่ม ใช้เป็นอาหารเสริม เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ใช้แต่งกลิ่น แต่งสีอาหารและยา ตลอดจนใช้เป็นยาฆ่าแมลงอีกด้วย จากสรรพคุณของสมุนไพร รัชกาลที่ 9 ได้ ดำริถึงโครงการพระราชด้านสมุนไพรของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่เกิดจากสายพระเนตรอันยาวไกล พัฒนาทั้งสมุนไพรไทยและผสานหลักเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งหลักการเกษตรเข้าไว้ด้วยกัน โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชกรณียกิจนับพัน ๆ โครงการ แสดงให้เห็นถึงพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อประชาชนชาวไทยมาอย่างยาวนาน และหนึ่งในโครงการพระราชดำริของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่เราอยากนำเสนอให้ชาวไทยทุกคนได้รู้และศึกษากันอีกโครงการหนึ่งก็คือ โครงการพระราชดำริด้านสมุนไพร ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 นอกจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 จะทรงมีโครงการพระราชดำริด้านสาธารณสุขไทยหลายต่อหลายสาขาแล้ว ยังทรงสนพระราชหฤทัยในด้านสมุนไพรไทย ที่ได้ใช้ประโยชน์มาเป็นเวลานานตั้งแต่อดีต จึงทรงมีพระราชดำริว่าควรจะต้องมีการส่งเสริมการใช้และพัฒนาสมุนไพรเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนมากยิ่งขึ้น โดยพระองค์ได้ทรงดำเนินการเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน ดังนั้นจะเห็นได้จากโครงการพระราชดำริเกี่ยวกับการศึกษา พัฒนา และอนุรักษ์สมุนไพรที่เกิดขึ้นหลายโครงการ จุดประสงค์ในการต่อยอดและพัฒนาสมุนไพรให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่แล้ว โครงการพระราชดำริด้านสมุนไพรยังช่วยพลิกฟื้นผืนดินและความเป็นอยู่ของประชาชนชาวไทยไปพร้อม ๆ กันด้วย จนอาจกล่าวได้ว่า การนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 นี้ แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกับปรัชญาในการพัฒนาสังคมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 5 ประการ คือ 1. การส่งเสริมศักยภาพในการพึ่งตนเองของประชาชน 2. การอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ 3. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย 4. เศรษฐกิจพอเพียง 5. การพัฒนาไปสู่เทคโนโลยีสมัยใหม่ ปัจจุบันโครงการพระราชดำริด้านสมุนไพรต่าง ๆ ได้ศึกษาและค้นคว้าพืชสมุนไพรนานาชนิดเป็นจำนวนมาก และได้ผลผลิตออกมาในหลายรูปแบบด้วยกัน สร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ และส่งเสริมให้คนไทยทุกคนได้มีสมุนไพรดี ๆ ไว้อุปโภคบริโภค จากคำกล่าวทั้งหมดแสดงให้เห็นว่าสมุนไพรเป็นพืชสำคัญที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์และสามารถนำมาเป็นสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่สามารถเพิ่มรายได้เป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสริมแก่ผู้สนใจหรือแก่ชุมชนที่มีสมุนไพรในท้องถิ่น สอดคล้องกับโครงการพระราชดำริ (โปรดระบุชื่อโครงการพระราชดำริ) โครงการสวนป่าสมุนไพรของศูนย์การศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการหลวง ดอยคำ โครงการภายใต้มูลนิธิโครงการหลวง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ส่งเสริมการเรียนรู้ การสกัดสมุนไพรในการสร้างผลิตภัณฑ์ตามแนวปรัชญาในการพัฒนาสังคมของรัชการที่ 9
พัฒนาและฝึกทักษะการสกัดสมุนไพรในการสร้างผลิตภัณฑ์ตามแนวปรัชญาในการพัฒนาสังคมของรัชการที่ 9
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แนวทางการสกัดสารสมุนไพรเพื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 2 : จำนวนผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ผลิตภัณฑ์ 3
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : เทคนิคการสกัดพืชสมุนไพร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เทคนิค 2
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : แนวทางเลือกในการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริมแก่ผู้สนใจทั้งเกษตรกร และประชาชนที่สนใจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 อาชีพ 1
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แนวทางการสกัดสารสมุนไพรเพื่อผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการสกัดสมุนไพรในการสร้างผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ชรินทร  ศรีวิฑูรย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 2 วันๆ ละ 35 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 2 วันๆ ละ 35 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท 0.00 บาท 11,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 คนๆ ละ 2 วันๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 คนๆ ละ 2 วันๆ ละ 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 วันๆ ละ 3 คนๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,200.00 บาท 0.00 บาท 13,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น พืชสมุนไพร ฯลฯ เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าวิทยาศาสตร์ เช่น Ethyl alcohol, Methanol, บีกเกอร์ กระดาษกรอง ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถัง กะละมัง แม่พิมพ์ซิลิโคน ฯลฯ เป็นเงิน 12,000 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 2,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 25,600.00 บาท 0.00 บาท 25,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เกิดสถานการณ์ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า-19
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดการอบรมรูปแบบ online ร่วมกับ แบบ onsite
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล