17825 : โครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เคมีอัดเม็ดเพื่อรองรับระบบเกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) ระบบเกษตรแบบปลอดภัย (GAP) และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อจำหน่ายในเชิงการค้า
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 1/3/2565 13:44:31
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในอำเภอละแม จังหวัดชุมพร และอำเภอใกล้เคียง
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินโครงการบริการวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2565 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ประสาทพร  กออวยชัย
อาจารย์ ปิยนุช  จันทรัมพร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.65 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.65 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.65:2.3.4 ชุมชนที่ได้รับการยกระดับจากโครงการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ มจ.ชพ.65: 40. ผลักดันให้มีการพัฒนาองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี/ให้บริการวิชาการจากมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลการใช้ปัจจัยการผลิตในภาคการเกษตร พบว่า ต้นทุนประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์จะเป็นค่าปุ๋ยเคมี ดังนั้นหากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกรโดยโน้มน้าวให้หันกลับมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ซึ่งสามารถผลิตขึ้นเองได้ทดแทนแต่การใช้ปุ๋ยเคมีแต่เพียงอย่างเดียวจะส่วนลดต้นทุนการผลิตในภาคการเกษตรลงได้ นอกจากนี้การใช้ปุ๋ยอินทรีย์จะช่วยปรับปรุงดิน ช่วยฟื้นฟูดินทำให้ดินมีคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการเพราะปลูก และยังเป็นการช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำ และในปัจจุบันนี้ผู้บริโภคหันมาใส่ใจกับสุขภาพมากยิ่งขึ้นและเห็นความสำคัญของพืชที่ปลูกในระบบอินทรีย์ ดังนั้นหากเกษตรกรสามารถเพาะปลูก พืชในระบบเกษตรอินทรีย์หรือระบบเกษตรที่ปลอดภัยแล้วจะทำให้เพิ่มมูลค่าของผลผลิต ปลอดภัยทั้งต่อตนเองและผู้บริโภค นอกจากนี้เป็นการช่วยรักษาสภาพแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีงานวิจัยเกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และการนำปุ๋ยอินทรีย์ไปใช้กับพืชเศรษฐกิจเป็นระยะเวลายาวนาน โดยร่วมมือทั้งกับภาครัฐและภาคเอกชนการวิจัยและนำไปอินทรีย์ในรูปแบบต่าง ๆ ไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะปาล์มน้ำมันกับยางพารา โดยในปี 2563 มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีความร่วมมือกับโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม เครือข่าย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กับบริษัท ท่าฉาง อโกรเทค จำกัด ในการวิจัยเพื่อนำวัสดุเหลือทิ้งได้แก่ ตะกอนดินขาว มีปริมาณ 4 ตันต่อวัน มาจากโรงงานสกัดปาล์มน้ำมัน ขี้แป้งมีปริมาณ 5 ตันต่อวัน มาจากโรงงานผลิตน้ำยางข้น ตะกอนน้ำทิ้ง ปริมาณ 24 ตันต่อวัน ขี้เถ้าปริมาณ 100 ตันต่อวัน มาผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์เพื่อใช้กับพืชเศรษฐกิจของภาคใต้โดยเฉพาะปาล์มน้ำมันและยางพารา นอกจากนี้มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ยังได้ตกลงทำความร่วมมือกับบริษัท ออร์กานิคเวย์ ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิลผลิตภัณฑ์บำรุงพืชบำรุงดิน ตรา ออร์กานิคเวย์ ภายใต้การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าจากหลากหลายมาตรฐาน เช่น JAS Organic, IFORM International, USDA และ EU Organic ซึ่งความร่วมมือทางวิชาการดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมให้งานบริการวิชาการนี้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานบริการวิชาการเรื่องนี้ สอดคล้องกับแนวประราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเน้นการพึ่งพาตนเอง เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต ที่สำคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซึ่งจะนำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการใช้ชีวิต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อใช้ในระบบเกษตรอินทรีย์
2. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์เคมีอัดเม็ดเพื่อใช้ในระบบเกษตรปลอดภัย
3.การผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อจำหน่ายในเชิงการค้า
4. ลดรายจ่ายจากปัจจัยการผลิตโดยเฉพาะการใช้ปุ๋ยเคมี พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการใช้ชีวิต
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิต : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เคมีอัดเม็ดเพื่อรองรับระบบเกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) ระบบเกษตรแบบปลอดภัย (GAP) และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อจำหน่ายในเชิงการค้า
KPI 1 : เกษตรมีทัศนคติที่ดีขึ้นต่อการผลิตสินค้าเกษตรตามระบบเกษตรที่ปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนปุ๋ยอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ตัน 5
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนปุ๋ยอินทรีย์เคมี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ตัน 1
KPI 5 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 11 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิต : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เคมีอัดเม็ดเพื่อรองรับระบบเกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) ระบบเกษตรแบบปลอดภัย (GAP) และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อจำหน่ายในเชิงการค้า
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คนๆละ 200 บาท 10 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ปุ๋ยคอก จำนวน 300 กระสอบๆละ 60 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
กากน้ำตาล จำนวน 100 กิโลกรัมๆละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ปุ๋ย 46-0-0 จำนวน 5 กระสอบๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ปุ๋ย 18-46-0 จำนวน 5 กระสอบๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน ,5000 บาท
ปุ๋ย 0-0-60 จำนวน 5 กระสอบๆละ 900 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 33,500.00 บาท 0.00 บาท 33,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว ถุงพลาสติกใส จำนวน 12 กิโลกรัมๆ 250 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 42500.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 25 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
อาจมีปัญหาเรื่องโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อจำนวนผู้เข้าชมฐานและจำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
อาจต้องอบรมแบบออนไลน์ หรือทำคลิบวีดีโอลงในสื่อต่างๆ เช่น facebook เป็นต้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
17.ย.002 ปี 65 อ.ประสาทพร กออวยชัย.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ในเชิงการค้า ระบบเกษตรอินทรีย์
ช่วงเวลา : 01/03/2565 - 31/08/2565
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
ช่วงเวลา : 01/03/2565 - 31/08/2565
ตัวชี้วัด
สมศ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้ประโยชน์
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล