17811 : โครงการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยเชิงพาณิชย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/12/2564 11:33:22
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร นักวิชาการ บริษัทและบุคคลทั่วไปที่สนใจการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยเชิงพาณิชย์
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บัญชา  ทองมี
รองศาสตราจารย์ ทิพสุคนธ์  พิมพ์พิมล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการสนองงานโครงการในพระราชดำริ
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-65-2.3 ส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านการประมงให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด FT-65-2-26 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT-65-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กุ้งฝอยเป็นกุ้งน้ำจืดขนาดเล็กมีชื่อสามัญว่า Lanchester, s Freshwater Prawn และชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macrobrachium lancesteri, de Man ลูกกุ้งฝอยขนาดเล็กมีลักษณะคล้ายกับกุ้งกรามมาก แต่มีลักษณะเด่นที่สามารถแยกระหว่างลูกกุ้งก้ามกรามกับกุ้งฝอยคือกรีของกุ้งฝอยมีลักษณะตรง ด้านบนมีฟันหยัก 4-7 ซี่ ด้านล่าง 1-2 ซี่ ขณะที่กรีของกุ้งก้ามกรามมีลักษณะโค้งขึ้น มีฟันหยักด้านบน 12-15 ซี่ ลูกกุ้งฝอยและกุ้งฝอยตัวเต็มวัยมีลักษณะลำตัวใส เปลือกหุ้มตัวบาง ขนาดความยาว อยู่ระหว่าง 15-54 มิลลิเมตร กุ้งฝอยพบได้ทั่วไปตามแม่น้ำและคลองต่าง ๆ ในประเทศไทย มักซ่อนตัวอยู่ตามใต้ก้อนหินระหว่างพันธุ์ไม้น้ำต่าง ๆ ตามปกติจะพบกุ้งฝอยในน้ำลึกไม่เกิน 1 เมตร กุ้งฝอยกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์แต่ชอบกินของเน่าเปื่อยเป็นอาหารชอบกินเวลากลางคืน แต่สามารถกินอาหารตอนกลางวันได้ หากปริมาณออกซิเจนต่ำการกินอาหารจะลดลงการแยกเพศกุ้งฝอย บริเวณส่วนหัวของกุ้งฝอยเพศผู้มีสีน้ำตาลเหลือง ส่วนในเพศเมียมีสีเขียวจัด กุ้งตัวผู้จะมีขนาดเล็กรูปร่างเพรียว ส่วนกุ้งเพศเมียมีขนาดโต กว่า รูปร่างป้อม กุ้งฝอยเป็นสัตว์น้ำที่รสชาติดีและคุณค่าทางอาหารสูงทั้งโปรตีนแคลเซียมและแร่ธาตุอื่น ๆ จึงทำให้เป็นที่นิยมในการบริโภคกันมาก สามารถประกอบอาหารได้หลายอย่างที่นิยมรับประทานกันมากที่สุด คือ กุ้งเต้นรองลงมาคือกุ้งฝอยทอด พล่ากุ้ง กุ้งต้มหวาน ต้มเค็ม กุ้งฝอยนอกจากจะเป็นอาหารของมนุษย์แล้วยังมีความสำคัญในระบบห่วงโซ่อาหารในธรรมชาติ เนื่องจากเป็นอาหารของปลาได้เกือบทุกชนิดทั้งในการอนุบาลปลาที่สำคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ปลาบู่ ปลาสลาด ปลากราย หรือปลาสวยงาม เช่น ปลาตะพัด ปลาออสก้า และปลาปอมปาดัวร์ เนื่องจากในปัจจุบัน แหล่งน้ำมีการเสื่อมโทรม ตื้นเขินและถูกถูกบุกรุก ทำให้แหล่งที่อยู่อาศัยของกุ้งฝอยลดลงส่งผลให้ราคาของกุ้งฝอยมีราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 300 บาท แต่การเลี้ยงกุ้งฝอยจะมีต้นทุนหลักคือค่าอาหาร 60-70% ดังนั้นการสร้างอาหารธรรมชาติสำหรับกุ้งฝอยจึงน่าจะช่วยลดการให้อาหารสบทบลดลง คุณค่าของกุ้งฝอยน้ำจืดสดจะประกอบไปด้วย โปรตีน 15.8 กรัม คาร์โบไฮเดรต 1.0 กรัม ไขมัน 1.2 กรัม พลังงาน 78 แคลอรี่ แคลเซียม 9.2 กรัม ฟอสฟอรัส 2.69 กรัม เหล็ก 0.08 และความชื้น 78.7 กรัม ปัจจุบันการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เพราะสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรเป็นอย่างดี ทั้งสัตว์น้ำจืดและน้ำเค็ม กุ้งฝอยเป็นกุ้งน้ำจืดขนาดเล็กที่พบและสามารถและสามารถเพาะเลี้ยงได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย เป็นที่รู้จักกันดีของคนไทยว่าเป็นอาหารรสชาติอร่อย จึงทำให้มีความต้องการของตลาดสูง แต่จากปัญหาการลดลงของแหล่งน้ำหรือแหล่งน้ำมีสภาพเสื่อมโทรม จึงทำให้กุ้งในธรรมชาติลดลงมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค ดังนั้นการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยทดแทนจากธรรมชาติจึงมีความจำเป็นเพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค และยังช่วยสร้างรายได้เสริมให้แก่เกษตรกร ทำให้เกษตรกรมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นและสามารถนำไปต่อยอดประกอบเป็นอาชีพได้ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรอินทรีย์ ตามแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอย แก่อาจารย์ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและเกษตรกรที่สนใจ
เพื่อถ่ายทอดเทคนิคการผลิตอาหารกุ้งฝอยเพื่อลดต้นทุนการผลิต เพื่อ แก่อาจารย์ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและเกษตรกรที่สนใจ
เป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยระหว่างอาจารย์ นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง นักศึกษาและเกษตรกรที่สนใจ เพื่อบูรณาการงานวิจัยสู่การเรียนการสอน ในระดับบัณฑิตศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกร ผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไป นักศึกษา นักเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยเชิงพาณิชย์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 3 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : สนับสนุนงานด้านการเรียน การสอน ในคณะเทคโนโลยีการประมงฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 รายวิชา 1
KPI 6 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 7 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : การบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น ๆ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พันธกิจ 1
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกร ผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไป นักศึกษา นักเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยเชิงพาณิชย์
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมเชิงการเพาะเลี้ยงกุ้งฝอยเชิงพาณิชย์
1.ประชาสัมพันธ์
2.ติดต่อประสานงานและ จัดทำเอกสารและคู่มือ
3.จัดฝึกอบรม
4.สรุปผลการจัดทำโครงการ
5.จัดทำรายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บัญชา  ทองมี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ทิพสุคนธ์  พิมพ์พิมล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่ และผู้เข้าอบรม จำนวน 55 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,850.00 บาท 0.00 บาท 3,850.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน สำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่ และผู้เข้าอบรม จำนวน 55 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 คน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น อาหารปลา รำ ปลาป่น กระชัง พลาสติกโรงเรือน ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 29,000.00 บาท 0.00 บาท 29,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่างานบ้านงานครัว เช่น กะละมัง มีด กล่องพลาสติก ถาดพลาสติก ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,850.00 บาท 0.00 บาท 6,850.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
4.ย.002 ปี65 ผศ.ดร.บัญชา ทองมี.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล