17805 : โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งน้ำในสวนลำไย เพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/12/2564 16:07:42
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร บุคคลทั่วไปที่สนใจการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบอินทรีย์
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ทิพสุคนธ์  พิมพ์พิมล
รองศาสตราจารย์ ดร. นิวุฒิ  หวังชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านบริการวิชาการ
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-65-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-65-2.3 ส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านการประมงให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด FT-65-2-26 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT-65-2.3.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในเขตภาคเหนือปลาหมอเป็นปลาที่นิยมบริโภค เป็นที่ต้องการในตลาดสูง มีราคาแพง แต่ยังไม่สามารถผลิตให้เพียงพอและในธรรมชาติก็หาได้ยาก ดังนั้นจึงควรมีการส่งเสริมการเลี้ยงปลาหมอเพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิตปลาหมอ โดยเป็นที่น่าสนใจว่าในเขตภาคเหนือตอนบนโดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่และลำพูนซึ่งมีการปลูกลำไยอย่างแพร่หลาย มีการขุดร่องน้ำ, และบ่อน้ำ เพื่อเก็บกักน้ำไว้รดต้นลำไย ซึ่งร่องหรือคูน้ำดังกล่าวมีจะมีน้ำอยู่ในร่องสวนตลอดปี ส่วนบ่อน้ำในสวนมีขนาดแตกต่างกันขึ้นกับพื้นที่ที่เหลือจากแปลงปลูกลำไย จากสภาพดังกล่าวเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์เพิ่มจากร่องน้ำและบ่อน้ำได้นอกเหนือจากการเก็บกักน้ำอย่างเดียว เพราะฉะนั้นการเลี้ยงปลาหมอในกระชัง ในร่องสวน และเลี้ยงในบ่อตามพื้นที่ว่าง น่าจะเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการเพิ่มรายได้สำหรับเกษตรกรที่มีพื้นที่จำกัด และเป็นแนวทางพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาหมอต่อไป ซึ่งองค์ความรู้ดังกล่าวนี้สามารถทำให้เกษตรกรนำไปจัดการการเลี้ยงได้เหมาะสม เพื่อให้เกิดผลผลิตในระดับที่เกษตรกรสามารถ มีรายได้เพิ่มจากการเลี้ยงปลาหรือเพื่อบริโภคในครัวเรือน ซึ่งสอดคล้องกับการส่งเสริมให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ นอกจากนี้แล้วยังสามารถพัฒนาสู่ระบบการเลี้ยงแบบอินทรีย์ที่ทำควบคู่กับการทำสวนลำไยอินทรีย์ได้ด้วย จึงถือได้ว่าเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้มีความปลอดภัยมากยิ่ง และยังเป็นกิจกรรมที่สามารถสร้างความเชื่อมโยงระหว่างชุมชนกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ซึ่งมีพันธะกิจส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารอินทรีย์ (Organic Food)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้การเลี้ยงปลาหมอแบบลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมในแหล่งน้ำในสวนลำไย
เพื่อส่งเสริมการดำรงแบบสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและพัฒนาเข้าสู่ระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกร ผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไป นักศึกษา นักเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งน้ำในสวนลำไยตามแนวทางการลดต้นทุน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : การบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น ๆ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พันธกิจ 1
KPI 3 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 6 : ชุมชนได้เรียนรู้การเลี้ยงปลาหมอแบบลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมในแหล่งน้ำในสวนลำไย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุมชน 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 9 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกร ผู้ที่สนใจและบุคคลทั่วไป นักศึกษา นักเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งน้ำในสวนลำไยตามแนวทางการลดต้นทุน
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งน้ำในสวนลำไยตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเข้าสู่ระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์
1. ประชาสัมพันธ์
2. ติดต่อประสานงานและ จัดทำเอกสารและคู่มือ
3. จัดฝึกอบรม
4. สรุปผลการจัดทำโครงการ
5. จัดทำรายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ทิพสุคนธ์  พิมพ์พิมล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.นิวุฒิ  หวังชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่และผู้เข้าอบรม จำนวน 55 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,850.00 บาท 0.00 บาท 3,850.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน สำหรับวิทยากร เจ้าหน้าที่และผู้เข้าอบรม จำนวน 55 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 1 วัน ๆ ละ 4 ชม. ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 1 วัน ๆ ละ 4 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 คน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น อาหารปลา รำ ปลาป่น กระชัง พลาสติกโรงเรือน ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่างานบ้านงานครัว เช่น กะละมัง มีด กล่องพลาสติก ถาดพลาสติก ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,850.00 บาท 0.00 บาท 5,850.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล