17801 : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งการพึ่งพาตนเองในการทำการเกษตรแบบปลอดภัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ สุภาพันธ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/12/2564 15:07:28
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เจ้าหน้าที่และเกษตรกรเครือข่ายของโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินโครงการบริการวิชาการประจำปีงบประมาณ 2565 2565 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัชรินทร์  สุภาพันธ์
รองศาสตราจารย์ ดร. พัชรี  อินธนู
อาจารย์ ดร. แสนวสันต์  ยอดคำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64ECON-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64ECON 2.5 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 64ECON 2.23 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 64ECON 2.23.1 ให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69ECON4-1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69ECON4-1.2 จำนวนโครงการที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 4-1.2.1 ส่งเสริมให้คณาจารย์และศูนย์วิจัยฯ ดำเนินกิจกรรม/โครงการเพื่อสร้างนวัตกรรมสู่การเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ COVID-19 ตั้งแต่ปลายปี 2562 ที่ผ่านมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยมีอัตราการขยายตกต่ำติดลบร้อยละ 7.1 (IMF, 2020) โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวและการส่งออกได้รับผลกระทบโดยตรง ประกอบกับสถานการณ์ภายในประเทศที่มีโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสูงวัยมากขึ้นในปี 2562 มีจำนวน 11.1 ล้านรายคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16.73 ของประชากรทั้งหมด จากปี 2553 มีจำนวนประชากรสูงวัยเพียง 7.4 ล้านราย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.73 ของประชากรทั้งหมด ขณะที่กลุ่มประชากรวัยแรงงานที่มีประชากรที่มากที่สุดกลับมีแนวโน้มจำนวนประชากรที่ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 66.87 เหลือร้อยละ 64.37 ในปี 2562 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2562) มีความเหลื่อมล้ำทางสังคมสูงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ธรรมาภิบาลและการบริหารประเทศมีคุณภาพไม่เพียงพอ และปัญหาความมั่นคงมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จากสถานการณ์ดังกล่าวนำมาสู่กับดักการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ กับดักผลิตภาพต่ำ กับดักความเหลื่อมล้ำ และกับดักความไม่สมดุล (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560) เพื่อให้หลุดพ้นจากกับดักดังกล่าว และสถานการณ์ภายในประเทศและโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจึงมีการน้อมนำหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญาขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ที่มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เพื่อให้เกิดการบูรณาการการพัฒนาทุกมิติอย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดี โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคมคุณภาพ สร้างโอกาสและมีที่ยืนให้กับทุกคนในสังคมได้ดำเนินชีวิตที่ดีมีความสุขและอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ นำมาสู่ระบบเศรษฐกิจของประเทศที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องมีคุณภาพ และมีเสถียรภาพ การกระจายความมั่งคั่งอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม เป็นการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ชุมชนวิถีชีวิต ค่านิยม ประเพณี และวัฒนธรรม นอกจากนี้ต้องการให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีสำหรับคนไทยพัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560) ดังนั้นเพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ดังกล่าว และนำมาซึ่งการพึ่งพาตนเองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงต้องอาศัยกิจกรรมการให้บริการวิชาการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย และเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญของมหาวิทยาลัย ซึ่งเน้นความสำคัญในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ในรูปแบบการให้บริการต่างๆ ตามความถนัดและในด้านที่มหาวิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญ และเป็นการให้การบริการวิชาการที่เสริมสร้างการพัฒนาสังคมให้เข้มแข็งและยั่งยืน อันนำมาสู่การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นที่พึ่งของประชาชนและสังคม โดยคำนึงถึงกระบวนการการให้บริการในหลากหลายรูปแบบที่มีความสอดคล้องกับโครงการพระราชดำริ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่สังคมโดยรวมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ด้วยการถ่ายทอดความรู้เรื่องเทคนิคการปลูกพืชตามแนวทางเกษตรอินทรีย์ การผลิตและการใช้สารชีวภัณฑ์อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ การผลิตวัสดุปรับปรุงดินและเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเศษวัสดุเหลือทิ้ง การจัดทำบัญชีฟาร์มให้เกิดความคุ้มค่าการผลิตทางการเกษตร และการถ่ายทอดองค์ความรู้การรวมกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตปุ๋ยอินทรีย์
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตไบโอชาร์
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการปลูกพืชตามแนวทางเกษตรอินทรีย์
เพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำบัญชีฟาร์มให้เกิดความคุ้มค่าการผลิตทางการเกษตร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริสามารถพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 60 ร้อยละ 60
KPI 4 : ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฟาร์ม 1
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 30 คน 30
KPI 6 : สื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมการจัดฝึกอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 สื่อ 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 ร้อยละ 100
KPI 8 : ไบโอชาร์สำหรับเป็นวัสดุปลูกและปรับปรุงดิน (ของเศษวัสดุเหลือทิ้งฯ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ร้อยละ 50
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
77050 22950 ล้านบาท 100000
KPI 10 : แปลงปลูกพืชตามแนวทางเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แปลง 1
KPI 11 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 12 : ตัวอย่างบัญชีฟาร์ม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เล่ม 1
KPI 13 : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ตัน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริสามารถพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2565 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสนวสันต์  ยอดคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการฝึกอบรม ขนาด A4 สี (10 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,750.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น มูลสัตว์ ฯลฯ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น ตาข่าย ลวดมัด ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าวัสดุสำนักงานเช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 26350.00
ชื่อกิจกรรม :
การผลิตไบโอชาร์สำหรับเป็นวัสดุปลูกและปรับปรุงดิน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2565 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี  อินธนู (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการฝึกอบรม ขนาด A4 สี (10 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,750.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก ลวดเชื่อม ถังน้ำมัน แผ่นสังกะสี ฯลฯ เป็นเงิน 8,000 บาท
- ค่าวัสดุสำนักงานเช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 26350.00
ชื่อกิจกรรม :
การปลูกพืชตามแนวทางเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2565 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสนวสันต์  ยอดคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการฝึกอบรม ขนาด A4 สี (10 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,750.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น เมล็ดพันธุ์ผัก ถุงเพาะชำ วัสดุเพาะกล้า ฯลฯ เป็นเงิน 7,000 บาท
- ค่าวัสดุสำนักงานเช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24350.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดทำบัญชีฟาร์มให้เกิดความคุ้มค่าการผลิตทางการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2565 - 30/06/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์  สุภาพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 35 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการฝึกอบรม ขนาด A4 สี (10 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,750.00 บาท 0.00 บาท 11,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 3,100 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ แผ่น CD ฯลฯ เป็นเงิน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,600.00 บาท 0.00 บาท 7,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22950.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การแพร่ระบาดของโรค Covid-19 ในหมู่บ้านของพื้นที่ดำเนินการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
การขยายกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ดำเนินการให้เพิ่มมากขึ้น
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล