17770 : โครงการพลิกฟื้นภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนล้านนา ด้วยนวัตกรรมด้านสินค้าและบริการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
ดร.วีร์ พวงเพิกศึก (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/1/2565 13:30:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา สมาชิกกลุ่มอาชีพ และประชาชนทั่วไป ในเขตพื้นที่ ตำบลช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
รองศาสตราจารย์ ดร. เกศสุดา  สิทธิสันติกุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรชัย  กังวล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศได้รับผลกระทบจากการลดลงของรายได้ที่มาจากการท่องเที่ยว ก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจที่เป็นลูกโซ่ที่ส่งผลกระทบไปถึงระดับชุมชน ที่ขาดรายได้และขาดสภาพคล่องทางการเงิน ประกอบกับแรงงานบางส่วนในภาคการท่องเที่ยว และภาคอุตสาหกรรมต้องตกงาน และต้องกลับไปยังภูมิลำเนาของตนเอง ทำให้ชุมชนท้องถิ่นประสบกับปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมตามมา อย่างไรก็ตาม ในวิกฤติ ย่อมมีโอกาส หากชุมชนสามารถประยุกต์ใช้หลักของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ ในรัชการที่ 9 ควบคู่ไปกับการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ โดยการนำนวัตกรรมองค์ความรู้จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่เป็นแหล่งรวมศาสตร์ความรู้ทั้งด้านการผลิต ตลาดและการท่องเที่ยว เพื่อสร้างสินค้าและบริการของชุมชน ให้เป็นฐานสำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวในท้องถิ่นตาม โดยการใช้ทรัพยากรในชุมชน และสร้างจากคนของชุมชน ก็จะเป็นการพัฒนาชุมชนให้สามารถคงอยู่ได้ด้วยตนเอง พร้อมรับกับความปกติใหม่ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลังยุคโควิด-19 ชุมชนตำบลชมพู อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ถือเป็นแหล่งชุมชนที่มีเอกลักษณ์ความเป็นล้านนา มีชุมชนผู้สูงอายุที่อนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น มีกลุ่มอาชีพที่มีศักยภาพที่สามารถต่อยอดเป็นสินค้าชุมชน และมีสถานที่เหมาะแก่การท่องเที่ยวทั้งในรูปแบบเชิงเกษตร และเชิงวัฒนธรรม หากมีการนำองค์ความรู้ด้านการผลิต ตลาดและการท่องเที่ยวไปส่งเสริมผ่านงานบริการวิชาการและการประยุกต์ใช้หลักของเศรษฐกิจพอเพียง ก็จะเป็นการฟื้นฟูเศรษฐกิจท้องถิ่นและชุมชน สามารถสร้างงาน และสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นในท้องถิ่นชุมชน นำไปสู่ความยั่งยืนของเศษฐกิจชุมชนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนล้านนา ด้วยนวัตกรรมด้านสินค้าและบริการ บนฐานภูมิปัญญาและทรัพยากรท้องถิ่น
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจของขุมชนต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนถูกพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยววิถีล้านนา ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ที่ประยุกต์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
KPI 1 : จำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ประยุกต์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 2 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนถูกพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยววิถีล้านนา ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ที่ประยุกต์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาผลิตภัณฑ์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยนวัตกรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/02/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.วีร์  พวงเพิกศึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกศสุดา  สิทธิสันติกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 4,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คัน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 2,800 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน (ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษ A4 ปากกา แฟ้มกระดุม กระดาษบรุ๊ฟ ฯลฯเป็นเงิน 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (หมึก Toner เป็นต้น เป็นเงิน 1,700 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17400.00
ชื่อกิจกรรม :
การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/02/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.วีร์  พวงเพิกศึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกศสุดา  สิทธิสันติกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 4,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คัน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 2,800 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) (บรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน (ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษ A4 ปากกา แฟ้มกระดุม กระดาษบรุ๊ฟ ฯลฯ เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16300.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาศักยภาพชุมชนด้านการท่องเที่ยววิถีล้านนา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/02/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.วีร์  พวงเพิกศึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกศสุดา  สิทธิสันติกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 30 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 4,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คัน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 2,800 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุสำนักงาน (ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษ A4 ปากกา แฟ้มกระดุม กระดาษบรุ๊ฟ ฯลฯ เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) (บรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สถานการณ์โควิด-19 อาจทำให้จำนวนผู้เข้าอบรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดการอบรมแบบรักษาระยะห่าง และจัดให้มีการตรวจอุณหภูมิผู้เข้าร่วมการอบรมทุกครั้ง โดยประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญ และแจ้งให้ทราบว่าการอบรมเป็นผลมาจากการสอบถามความต้องการด้านการบริการวิชาการของชุมชน เมื่อปี 2562 ที่ผ่านมา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
บริการวิชาการ 2565 (2) Final
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล