17769 : โครงการ แม่โจ้โพลล์ ประจำปี 2565
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
นายยมนา ปานันท์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/12/2564 20:59:46
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1000  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมายในการเก็บข้อมูลโพลล์ ประกอบด้วย 1)ประชาชนทั่วประเทศ จำนวน 800 – 1,500 ราย 2)ประชาชนภาคเหนือ จำนวน 500 – 800 ราย 3)เยาวชนทั่วประเทศ จำนวน 1,000 – 1,500 ราย 4)เยาวชนภาคเหนือ จำนวน 800 – 1,000 ราย 5)เกษตรกรทั่วประเทศ จำนวน 300 – 600ราย ราย เกษตรกรภาคเหนือ หรือเกษตรรายพืช จำนวน 300 – 500 ราย - กลุ่มเป้าหมายในการนำเสนอและเผยแพร่ผลการสำรวจข้อมูล ประกอบด้วย สื่อมวลชน ทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์และหนังสือพิมพ์ รวมถึงสื่อออนไลน์ จำนวน 3 แหล่ง/โพลล์ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป และมีมูลค่าประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มมากขึ้น
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4) 2565 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรชัย  กังวล
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.21 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.7 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64ECON-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 64ECON 2.5 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 64ECON 2.22 ร้อยละของผลสำรวจโพลล์ที่เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ต่อจำนวนโพลล์ทั้งหมด
กลยุทธ์ 64ECON 2.22.1 วางแผนการกำหนดโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.4 จำนวนผลสำรวจความคิดเห็น (โพลล์) ต่อปี
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.4.1 พัฒนาระบบการบริหารจัดการโครงการจัดทำแม่โจ้โพลล์ให้มีประสิทธิภาพ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในโลกสมัยปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคที่เรียกว่า เป็นยุคของการสื่อสารที่ได้พรมแดน จากการสื่อสารที่ต้องใช้ระยะเวลานาน ในปัจจุบันถือว่ามีความก้าวหน้า รวดเร็วมากขึ้น ในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการกระจายข้อมูลข่าวสารให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถกระจายข้อมูลข่าวสารได้หลากหลายช่องทางมายิ่งขึ้น ทำให้ประชาชนในประเทศรับข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์มากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐที่เน้นนำเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย และใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่ของภาครัฐเพื่อแก้ไขปัญหาประเทศในทุกมิติ ทุกคนร่วมสร้างเครือข่ายในประเทศ-อาเซียน สร้างโอกาสจากเทคโนโลยี สร้างสรรค์ความก้าวหน้าให้กับภูมิภาคและภายในประเทศของตน โดยจากอิทธิพลของการรับข้อมูลข่าวสารนี้ถือว่าเป็นการแจ้ง กล่าว ถึงสถานการณ์ปัญหาต่างๆที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี จะเห็นได้ว่ามีสื่อหลายช่องทางที่นำเสนอข้อเท็จจริงให้แก่ประชาชนได้รับทราบอย่างทันท่วงที ทั้งเรื่องสถานการณ์เหตุบ้านการเมือง ภาวะเศรษฐกิจของโลกและของประเทศไทย ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาปากท้อง ฯลฯ โดยศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร ได้จัดทำโครงการแม่โจ้โพลล์ เพื่อการสำรวจความคิดเห็นและสะท้อนปัญหา อีกทั้งทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงที่สำคัญในการสะท้อนปัญหาต่างๆในสังคม ทั้งในเรื่อง การเมือง เศรษฐกิจ การเกษตร สิ่งแวดล้อมจากประชาชนทั่วไป รวมทั้งสะท้อนเสียงของเกษตรจากปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นและที่เป็นผลจากการกำหนดนโยบายหรือมาตรการต่างๆของภาครัฐที่ยังคงมีปัญหา การดำเนินการของ โครงการแม่โจ้ มีผลการดำเนินการประกอบด้วย ผลผลิต (Output) สามารถจัดทำผลสำรวจความคิดเห็น (โพลล์) ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นช่องทางหนึ่งในการสะท้อนความคิดเห็นของเกษตรกร และประชาชนทั่วประเทศ เพื่อให้หน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้รับรู้ถึงความต้องการและปัญหาที่เกิดขึ้นกับกลุ่มคนเหล่านี้ ซึ่งผลที่ได้รับจากการเผยแพร่ผลการสำรวจความคิดเห็น (โพลล์) (Outcome) คือการได้รับความสนใจจากสื่อต่างๆ ในการนำผลการสำรวจไปเผยแพร่ จำนวน 20 เรื่องต่อปี ในสื่อต่างๆ ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ในเครือต่างๆ สถานีวิทยุ หนังสือพิมพ์ สื่อออนไลน์ต่างๆ เช่น เฟสบุ๊ค ที่นับว่าเป็นพันธกิจหนึ่งของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยที่จะต้องทำบริการวิชาการให้แก่สังคม โดยเน้นอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เป็นมหาวิทยาลัยที่มีพันธกิจ ในการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการเกษตร ในระดับนานาชาติ โดยการสะท้อนปัญหา ความคิดเห็นของเกษตรกรที่เป็นรากเหง้าของการทำการเกษตร ให้ผู้เกี่ยวกับได้รับทราบและเห็นถึงปัญหาต่างๆ เพื่อการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องและรวดเร็ว ซึ่งในปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมานี้ ทางศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร (แม่โจ้โพลล์) ได้รับการสนับสนุนให้จัดทำโครงการแม่โจ้โพลล์โดยได้รับงบประมาณด้วยดีเสมอมา ถือได้ว่าการจัดทำโครงการแม่โจ้โพลล์ในครั้งนี้ สามารถเป็นการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่สนองต่อสังคมได้เป็นอย่างดี โดยในปี 2555 นี้ ทางศูนย์วิจัยฯมีความตั้งใจในการจัดทำโพลล์ ผลสำรวจที่เกี่ยวกับสถานการณ์ ปัญหา ผลกระทบของสถานการณ์โควิด – 19 ที่ผลกระทบต่อประชาชนคนไทยมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ รวมทั้งระบบการศึกษาที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ Onsite ในปัจจุบันได้รวมทั้งการจัดทำผลการสำรวจสอดคล้องกับโครงการหรือแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ ไปเป็นหัวข้อ ประเด็นในการจัดทำผลการสำรวจ ได้แก่ การสอบถามถามประชาชนต่อการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างไร และประเด็นที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อเป็นการถวายความจงรักภักดีและสนองโครงการตามพระราชดำริของพระองค์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสำรวจความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของผู้เกี่ยวข้องในประเด็นต่างๆ ได้แก่ เกษตร สิ่งแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป
เพื่อนำเสนอความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องแต่ละฝ่าย พร้อมแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
เพื่อให้เกิดความตระหนักในการมีส่วนร่วมในการสนองโครงการตามแนวพระราชดำริและเป็นการบริการวิชาการให้แก่สังคม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การจัดทำโพลล์ (ผลการสำรวจความคิดเห็น) จำนวน 20 โพลล์
KPI 1 : จำนวนความคิดเห็นเชิงนโยบาย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 เรื่อง 3
KPI 2 : ร้อยละของบริการวิชาการและเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 30 30 ร้อยละ 90
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 0.1 0.1 ล้านบาท 0.3
KPI 4 : จำนวนผลสำรวจต่อปี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
7 8 5 เรื่อง 20
KPI 5 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 500 คน 1000
KPI 6 : จำนวนผลสำรวจด้านการเกษตร เศรษฐกิจเกษตรและสิ่งแวดล้อม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 ร้อยละ 60
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 20 20 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การจัดทำโพลล์ (ผลการสำรวจความคิดเห็น) จำนวน 20 โพลล์
ชื่อกิจกรรม :
การจัดทำโพลล์ (ผลการสำรวจความคิดเห็น) จำนวน 20 โพลล์ โดยมีขั้นตอน
1. ออกแบบสอบถามสำรวจความคิดเห็น
2. ลงพื้นที่/ประสานเครือข่ายเก็บข้อมูล
3. วิเคราะห์และแปรผล
4. เขียนผลและบทความ
5. การจัดทำอินโฟกราฟฟิค
6. นำเสนอผลโพลล์ตามสื่อต่างๆ
7. ติดตามผลการเผยแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2565 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายยมนา  ปานันท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.วีร์  พวงเพิกศึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชุมพลภัทร์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการสนับสนุนงานด้านเก็บข้อมูล วิเคราะห์ (เก็บข้อมูล ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการสนับสนุนงานด้านเก็บข้อมูล วิเคราะห์ (เก็บข้อมูล ภาคตะวันออกภาคกลางและภาคใต้)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 135,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา ดินสอ ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
ค่าไปรษณียากร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 300000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สถานการณ์การระบาดของ โควิด-19 เป็นอุปสรรคต่อการเก็บแบบสอบถามประชาในพื้นที่ต่างๆมากขึ้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
จัดทำแบบสอบถามในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น
การใช้รูปแบบของตัวแทนในพื้นที่ในการเก็บแบบสอบถาม เพื่อลดการติดเชื้อ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 เขียนมือ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล