17749 : โครงการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยนำมาแปรรูปด้วยวิธีการอบแห้ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/12/2564 10:23:59
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2564  ถึง  30/09/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน นักเรียน นักศึกษา ผู้ประกอบการและผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2565 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ มุกริน  หนูคง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิไลวรรณ  พรประสิทธิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดริญญา  มูลชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านบริการวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 2.18 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 2.3.2 ผลักดันผลงานการให้บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.18 EN65 องค์ความรู้ด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
กลยุทธ์ ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นเมืองเกษตรกรรมที่ประชากรส่วนใหญ่ปลูกผัก ผลไม้และพืชสมุนไพรเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและประเทศชาติ แต่อย่างไรก็ตามในบางฤดูกาลที่ผลผลิตทางการเกษตรล้นตลาดส่งผลให้ให้ราคาผลผลิตตกต่ำ ผลผลิตเกิดการเน่าเสียเนื่องจากจำหน่ายไม่ทันจนเป็นสาเหตุให้เกิดเกษตรกรเกิดสภาวะขาดทุน ในการแก้ปัญหานี้ การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตรเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้เกษตรกรประสบปัญหาสภาวะการขาดทุนน้อยลง เนื่องจากการอบแห้งเป็นวิธีการลดความชื้นของผลิตภัณฑ์ลงให้อยู่ในระดับที่จุลินทรีย์ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ จึงเป็นการช่วยยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ได้นานขึ้น สามารถส่งไปขายยังต่างประเทศโดยไม่เกิดการเน่าเสียและบางผลิตภัณฑ์ต้องผ่านกระบวนการอบแห้งเช่น การผลิตชาจากพืชสมุนไพร ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ผลิตผลทางการเกษตร ทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น การอบแห้งผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแต่ละชนิดเพื่อให้ได้คุณภาพที่ดีนั้นต้องใช้สภาวะในการอบแห้งที่แตกต่างกัน เนื่องจากองค์ประกอบทางเคมีและลักษณะทางกายภาพของผลผลิตนั้นมีความแตกต่างกัน ดังนั้นการให้ความรู้แก่เกษตรกรและกลุ่มประชาชนที่สนใจที่จะเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยการอบแห้งให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติและสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดนั้นจะช่วยทำให้ผลิตภัณฑ์อบแห้งที่ได้มีคุณภาพดีและผ่านมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด โดยกลุ่มดังกล่าวเมื่อผ่านการฝึกอบรม สามารถนำความรู้เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์กับตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้และสามารถรวมตัวกันเป็นกลุ่มผู้ผลิตขนาดย่อมเพื่อเป็นสินค้าเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็งบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นที่เรียนรู้เกี่ยวกับการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรด้วยวิธีการอบแห้ง
เพื่อสงเสริมให้เกษตรกรนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเพื่อให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น
เพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็งบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การอบรมการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยนำมาแปรรูปด้วยวิธีการอบแห้ง
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 7 : จำนวนผลผลิตเหลือใช้ทางการเกษตรสามารถนำมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าด้วยวิธีการอบแห้ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ชนิด 3
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การอบรมการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยนำมาแปรรูปด้วยวิธีการอบแห้ง
ชื่อกิจกรรม :
การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรโดยนำมาแปรรูปด้วยวิธีการอบแห้ง
1.สำรวจความต้องการของเกษตรกร และชุมชน
2. จัดทำเอกสารการจัดฝึกอบรม
3. ดำเนินการจัดการอบรม
4. ทำรายงานและประเมินผลโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2564 - 30/09/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์มุกริน  หนูคง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 50 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการฝึกอบรม ขนาด A5 (25 หน้า) จำนวน 50 เล่มๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
บรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น กระเจี๊ยบ หญ้าหวาน มะตูม เก๊กฮวย ถุงฟอยล์ อุปกรณ์เครื่องเขียน ถุงพลาสติก หม้อ กะละมัง อุปกรณ์หุ้มห่อ ถาดอลูมิเนียมไว้ตากแห้ง ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท

- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ เมโมรี่สติ๊ก หมึกพิมพ์ เป็นเงิน 7,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 27,700.00 บาท 0.00 บาท 27,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. คู่มือประกอบการฝึกอบรมมีขนาดใหญ่ เหมาะมือ แต่อยากให้มีรายละเอียดที่ตัวหนังสือใหญ่มากกว่านี้ 2. อยากให้มีการจัดการอบรมต่อเนื่องทุก ๆ ปีเพื่อเป็นการทบทวนการปฏิบัติงาน 3. อยากให้มีการอบรมสำหรับผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น ๆ นอกเหนือจากชาสมุนไพร เช่น การผลิตสมุนไพรสำหรับฉีดป้องกันยุง สบู่และแชมพูสมุนไพร น้ำยาล้างจานสมุนไพรจากพืชสมุนไพรในครัวเรือน 4. มีความพึงพอใจในความรู้ของคณาจารย์และนักศึกษาที่มาช่วยงาน เพราะให้คำแนะนำ ให้ความรู้ และสื่อประกอบการสอนดีมาก 5. อยากให้มีการอบรมกับพืชชนิดอื่น ๆ เช่นชาสมุนไพรจากใบหม่อน การผสมชาสมุนไพรจากหญ้าหวานกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. จะปรับให้มีรายละเอียดที่ตัวหนังสือใหญ่มากกว่านี้ 2. จะพยายามจัดการอบรมต่อเนื่องทุก ๆ ปี 3. จะพยายามจัดให้มีการอบรมสำหรับผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น ๆ นอกเหนือจากชาสมุนไพร เช่น การผลิตสมุนไพรสำหรับฉีดป้องกันยุง สบู่และแชมพูสมุนไพร น้ำยาล้างจานสมุนไพรจากพืชสมุนไพรในครัวเรือน 4. นำข้อมูลไปปรับปรุงและพัฒนาต่อไปในความรู้ของคณาจารย์และนักศึกษาที่มาช่วยงาน 5. จะพยายามจัดให้มีการอบรมกับพืชชนิดอื่น ๆ เช่นชาสมุนไพรจากใบหม่อน การผสมชาสมุนไพรจากหญ้าหวานกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล