17734 : โครงการสร้าง Startup รุ่นใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2565
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล ลีรัตนากร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/12/2564 13:28:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/12/2564  ถึง  31/03/2565
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  23  คน
รายละเอียด  นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ จำนวน 17 คน อาจารย์ 6 คน และวิทยากรจำนวน 4ท่าน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาเศรษฐศาสตร์ กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติงานมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) 2565 7,200.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. นิศาชล  ลีรัตนากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิตา  พันธุ์มณี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี  สิงหะวาระ
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
อาจารย์ ดร. พิมพิมล  แก้วมณี
อาจารย์ ดร. เกวลิน  สมบูรณ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2565 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ ุ65-69 MJU 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69 MJU 4.2 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ ุ65-69 MJU 4.1.2 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2564] ประเด็นยุทธศาสตร์ 64ECON-4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 64ECON 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 64ECON 4.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 64ECON 4.1.2 จัดฝึกอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาสู่การเป็นผู้ประกอบการ
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON1-1.4 จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ BCG และ SDG
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.4.4 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการแก่นักศึกษา
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.8.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.9 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.9.2 จัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการ
[2565] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69ECON4-1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69ECON4-1.2 จำนวนโครงการที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 4-1.1.2 จัดหลักสูตรฝึกอบรม/โครงการเพื่อพัฒนานักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนดพันธกิจและวัตถุประสงค์ในการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurs) ที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงโดย เน้นทางด้านการเกษตร วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่น และสังคมของประเทศ และได้กำหนดให้คณะฯ ดำเนินการเพื่อสนับสนุนพันธกิจดังกล่าวนั้น ในภาคการศึกษาที่ 2/2564 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ได้เปิดสอนรายวิชา ศศ 362 การวางแผนและประเมินโครงการ ซึ่งเป็นรายวิชาที่มีวัตถุประสงค์ในนักศึกษาได้ทดลองสร้างธุรกิจจำลองของตนเอง และศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจนั้น เพื่อให้บรรลุตัวชี้วัด เป้าประสงค์ในการเป็นมหาวิทยาลัยด้านการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อสร้างแรงบัลดาลใจ ให้ความรู้ และฝึกอบรม ให้ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้ไปประกอบอาชีพได้ในอนาคต และเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร นักศึกษาและภาคธุรกิจ โดยได้เชิญวิทยากรจำนวน 4 ท่าน ผ่านการประชุมออนไลน์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาตนเองสู่การเป็นผู้ประกอบการ
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร นักศึกษา และภาคธุรกิจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ
KPI 1 : ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 2 : ระดับความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการพัฒนาตนเองเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ระดับ 3.51
KPI 3 : นักศึกษาและอาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ที่เข้าร่วมโครงการ (23 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมหัวข้อ การทำ SEO เบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/12/2564 - 28/02/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 1 ชั่วโมง 30 นาที ชั่วโมงละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1800.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมหัวข้อ Digital Marketing

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/12/2564 - 09/12/2564
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 1 ชั่วโมง 30 นาที ชั่วโมงละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1800.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมหัวข้อ การทำ Market Research

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/12/2564 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 1 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1200.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมหัวข้อ ประสบการณ์การทำงานใน Startup

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/12/2564 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 1 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1200.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมหัวข้อ โอกาสในการเปิดตลาด CLMV

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 09/12/2564 - 31/03/2565
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 1 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถเชิญวิทยากรมาบรรยาย ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปรับรูปแบบเป็นการอมรมแบบออนไลน์แทน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
กำหนดการณ์โครงการ Startup
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล